ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยา เลาหกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ice 4402 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Ice 4402 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 41:
ปี พ.ศ. 2519 วิทยา เลาหกุลได้เล่นฟุตบอลใน[[ควีนสคัพ (ฟุตบอล)|การแข่งขันฟุตบอลควีนสคัพ]] ซึ่งในครั้งนั้น[[เซเรซโซ โอซากะ|สโมสรฟุตบอลยันมาร์ดีเซล]]จาก[[ประเทศญี่ปุ่น]]ได้มาแข่งขันและคว้าชัยชนะไป และได้ติดต่อซื้อตัววิทยา เลาหกุลจาก[[สโมสรฟุตบอลราชประชา]] ให้ไปเล่นกับสโมสร ชีวิตการค้าแข้งของวิทยา เลาหกุลที่ญี่ปุ่นถือว่าประสบความสำเร็จอย่างมาก เคยได้รับเลือกให้เป็นหนึ่งในนักฟุตบอลยอดเยี่ยมประจำฤดูกาลและเคยเป็นผู้ที่ทำประตูสูงสุดในถ้วย F.A.Cup ของญี่ปุ่นที่จำนวน 6 ประตู ยิงประตูในลีกของญี่ปุ่นได้ทั้งสิ้น 14 ประตู
 
ในปี 2522 ได้ย้ายไปเล่นให้กับสโมสรในเยอรมันคือ [[แฮร์ธาเบอร์ลินแฮร์ทา เบเอ็สเซ]] และ [[เอฟเซ ซาร์บรุคเคนบรึคเคิน]] เป็นเวลารวมหกปีได้รับคำยกย่องจากสื่อในเยอรมันว่า "ไทย บูม" (THAI BOOM) และได้กลับมาประเทศไทย
 
ภายหลังจากที่ได้เลิกเล่นฟุตบอล ได้มาเป็นผู้ฝึกสอนให้กับ[[กัมบะ โอซากะ|มัตสึชิตะ]]ในประเทศญี่ปุ่น (สโมสรกัมบะ โอซากะปัจจุบัน) ซึ่งในในปี 2535 ทีมมัตสึชิตะได้ชนะเลิศควีนสคัพในประเทศไทย หลังจากนั้นได้คุมทีม [[สโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ]]จนชนะเลิศการแข่งขัน[[ไทยลีก]] ซึ่งต่อมาได้คุม[[ฟุตบอลทีมชาติไทย|ทีมชาติไทย]]ชนะเลิศ[[ซีเกมส์]]ในปี 2540 และได้คุมทีม[[สโมสรฟุตบอลชลบุรี]]จากโปรลีกจนได้เข้ามาเล่น[[ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก]]เป็นครั้งแรกของสโมสร
บรรทัด 51:
ปี พ.ศ. 2552 วิทยา เลาหกุล กลับมารับตำแหน่งประธานฝ่ายพัฒนาเทคนิคของสโมสรชลบุรีเอฟซี และรับตำแหน่งผู้จัดการทีม ในฤดูกาล 2554
 
ปี พ.ศ. 2559 วิทยา เลาหกุล ได้รับตำแหน่งอุปนายกฝ่ายพัฒนาเทคนิคของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ
 
== รางวัลในฐานะนักเตะ ==