ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูฝน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
LuporumĀter (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมเนื้อหาบทความ
LuporumĀter (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มรูปภาพประกอบและจัดหน้า
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{สภาพอากาศ}}
[[ไฟล์:Darwin 1824.jpg|thumb|พายุฤดูฝนในเมืองดาร์วิน ประเทศออสเตรเลีย]]
{{สภาพอากาศ}}
'''ฤดูฝน''' หรือ '''วัสสานฤดู''' เป็นเป็นช่วงที่มีปริมาณฝนโดยเฉลี่ยตลอดทั้งเดือนเกินกว่า 60 มิลลิเมตร มากกว่า 1 เดือนขึ้นไป<ref>{{cite web|url=https://www.hydrol-earth-syst-sci.net/11/1633/2007/hess-11-1633-2007.pdf|title=Updated world map of the K ̈oppen-Geiger climate classification|publisher=Hydrology and Earth System Sciences|author=M. C. Peel |accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref> และมีปริมาณฝนโดยรวมสูงสุดของปี โดยส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนตุลาคมสำหรับในเขตซีกโลกเหนือ ซึ่งรวมถึง[[ประเทศไทย]] ฤดูฝนยังทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและยังช่วยขจัดสิ่งสกปรกและฝุ่นละอองภายในอากาศด้วย ฝนนั้นเกิดจาก[[การควบแน่น]] ของก๊าซและกลายเป็นของเหลวตกลงมาซึ่งฤดูฝนมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในโลกเป็นอย่างมาก และยังช่วยเพิ่มปริมาณน้ำให้มากขึ้นอีกด้วย
==ลักษณะ==
[[ไฟล์:Wet season Fang ChiangMai Thailand.jpg|thumb|left|ลักษณะสภาพอากาศในฤดูฝน ที่จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย]]
ฝนในฤดูฝนนั้น เกี่ยวข้องกับกระแสลมที่เรียกว่าลม[[มรสุม]] ซึ่งส่งผลต่อรูปแบบของการเกิดฝนของพื้นที่ใน[[เขตร้อน]]และ[[กึ่งเขตร้อน]] โดยฝนในฤดูฝนนี้ ส่วนมากมักจะตกในช่วงบ่ายแก่ๆถึงค่ำ<ref>{{cite web|url=https://www.gotoknow.org/posts/191815|title=022 ทำไมฝนชอบกระหน่ำหลังเลิกงาน?|author=บัญชา ธนบุญสมบัติ|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref> เนื่องมาจากแสงอาทิตย์ ที่ส่องในช่วงกลางวันทำให้พื้นดินร้อนขึ้น แล้วทำให้อากาศที่มีความชื้นสูงจากการพัดเอาความชื้นจาก[[ทะเลอันดามัน]]ของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มาสู่ประเทศไทย ลอยตัวสูงขึ้นและก่อตัวเป็นเมฆใน[[ชั้นบรรยากาศ]]<ref>{{cite web|url=https://weather.rtaf.mi.th/observation/library_files/Read%20botkwam_Rain.html|title=ฝน หรือน้ำฝน (Rain)|publisher=กองข่าวอากาศ กรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref>ชั้น[[โทรโปสเฟียร์]]ช่วงบน ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำ โดยจะมีการสะสมหยดน้ำไปเรื่อยๆ เมื่อสะสมจนถึงจุดหนึ่งที่บรรยากาศรับน้ำหนักไอน้ำไม่ไหว ก็จะตกลงมาเป็นฝน ซึ่งฝนชนิดนี้เรียกว่า ฝนที่เกิดจาก[[การพาความร้อน]] (convective rain) ซึ่งมักจะตกพอดีกับช่วงเย็น และมักมีการกระจายของฝนเป็นหย่อมๆไปทั่ว
 
เส้น 16 ⟶ 17:
การที่ฝนตกอย่างต่อเนื่องในฤดูฝน ทำให้เพิ่มโอกาสในการเกิด[[น้ำท่วมฉับพลัน]] น้ำป่าไหลหลาก และ[[ดินถล่ม]]ได้ อันเนื่องมาจากปริมาณน้ำที่มากขึ้นจนดินไม่สามารถอุ้มน้ำได้อีกต่อไป รวมทั้งการที่น้ำในแม่น้ำสูงจนเกินระดับตลิ่ง รวมทั้งการที่[[พายุหมุนเขตร้อน]]ขึ้นฝั่งก็สร้างความเสียหายอย่างมากแก่บริเวณที่พายุขึ้นฝั่งเช่นกัน<ref>{{cite web|url=https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=70|title=อุทกภัย(Flood)|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref>
 
{{ฤดู}}
[[หมวดหมู่:ฤดู|ฝน]]
[[หมวดหมู่:ฝน]]
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{ฤดู}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฤดูฝน"