ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ก่อนหน้าพิมพ์ข้อความไม่ครบถ้วน , เพิ่มเติมข้อมูลปัจจุบัน
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Vajiravitch (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล มหาวิทยาลัย
| ชื่อ = มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง
| ภาพ = ไฟล์:Emblem of Thammasat University.svg
| image_size = 180px
| caption = '''ตราพระธรรมจักร''' <br/> สัญลักษณ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
| ชื่ออังกฤษ = Thammasat University Lampang Center
| ชื่อย่อ = มธ. / TU
| คำขวัญ = เป็นเลิศ เป็นธรรม ร่วมนำสังคม
| ก่อตั้ง = {{เทาเล็ก|มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง}}<br>{{วันเกิดและอายุ|2539|7|8}}
| ประเภท = [[วิทยาเขต]]
| อธิการบดี =
| students =
| colours = {{ubl|{{แถบสี|#FFD13F}} สีเหลือง <br/> {{แถบสี|#C3002F}} สีแดง}}
|campus =
| ที่ตั้ง = • '''ศูนย์ลำปาง'''<br/>248 หมู่ 2 ตำบลปงยางคก [[อำเภอห้างฉัตร]] [[จังหวัดลำปาง]] 52190<br/>
| former_names =
| มาสคอต = ตึกโดมแก้ว
| เว็บไซต์ = [http://www.lampang.tu.ac.th www.lampang.tu.ac.th]
| logo = [[ไฟล์:Thammasat University Logo with Wordings.png|260px]]
}}
[[ไฟล์:Dome_LP.jpg|thumb|350px|right|อาคารสิรินธรารัตน์ (ตึกโดมแก้ว) มธ.ศูนย์ลำปาง]]
 
'''มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง''' แต่เดิมตั้งอยู่ที่ อาคารศาลากลางจังหวัดหลังเก่า [[ถ.บุญวาทย์]] [[อ.เมืองลำปาง]] [[จังหวัดลำปาง]] เมื่อปีการศึกษา 2546 ได้ย้ายไปยังเลขที่ 248 หมู่ 2 ถนนลำปาง-เชียงใหม่ ตำบลปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง 52190 อยู่ห่างจากตัวเมืองลำปาง ประมาณ 15 กิโลเมตร ไปตามถนนซุปเปอร์ไฮเวย์สายลำปาง-เชียงใหม่ ซึ่งเป็นพื้นที่จากการบริจาคของ[[บุญชู ตรีทอง|นายบุญชู ตรีทอง]] มีพื้นที่ 364 ไร่ 3 งาน 79 ตารางวา เป็นที่ตั้งของ [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง]] มีอาคารเรียนรวมหลังแรกชื่อ "อาคารสิรินธรารัตน์"
 
==ประวัติ==
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีปณิธานที่มุ่งจะจัดการศึกษาสำหรับประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า ทุกชนชั้น จึงได้เริ่มขยายโอกาสทางการศึกษาออกสู่ส่วนภูมิภาคในจังหวัดลำปาง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2535 โดยคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมมือกับสถาบันราชภัฏลำปาง ได้ขยายการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาการเมืองการปกครอง มายังจังหวัดลำปางเป็นครั้งแรก ทำให้ทางมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เล็งเห็นถึงความพร้อม และความเหมาะสมของจังหวัดลำปางในฐานะที่จะเป็นศูนย์กลางการพัฒนาการศึกษาในเขตภาคเหนือได้