ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อสมท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mix.natthawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 54:
 
=== องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ===
ต่อมาภายหลัง บจก.ไทยโทรทัศน์ ประสบปัญหาการดำเนินกิจการ [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 39|คณะรัฐมนตรี]]ซึ่งนำโดย[[ธานินทร์ กรัยวิเชียร]] จึงลงมติให้ยุบเลิกกิจการ เมื่อวันที่ [[3 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2520]] และมีการตรา[[พระราชกฤษฎีกา]]จัดตั้งองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2520 เมื่อวันที่ [[25 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2520]] โดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 3 แห่ง[[พระราชบัญญัติ]]ว่าด้วยการจัดตั้ง องค์การของรัฐบาล พุทธศักราช 2496 เพื่อดำเนินการจัดตั้ง ''องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย'' (อ.ส.ม.ท.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อประกอบกิจการสื่อสารมวลชน และกิจการอื่นที่เกี่ยวข้องหรือต่อเนื่อง หรือใกล้เคียงกับกิจการสื่อสารมวลชน ทั้งภายในและภายนอกราชอาณาจักร รวมถึงให้โอนพนักงานและลูกจ้างของ บจก.ไทยโทรทัศน์ เข้าเป็นพนักงาน ขององค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย อ.ส.ม.ท. พร้อมทั้งรับโอนกิจการวิทยุและโทรทัศน์ของ บจก.ไทยโทรทัศน์ มาดำเนินงานสืบต่อ ซึ่งพระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ [[9 เมษายน]] [[พ.ศ. 2520]]<ref name="mcot_profile"/>
 
ต่อมาในวันที่ [[16 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2520]] องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทยอ.ส.ม.ท. ได้ก่อตั้งหน่วยงานเพิ่ม คือ [[สำนักข่าวไทยขึ้นอีกหน่วยงานหนึ่ง]] เพื่อดำเนินงานผลิตและเผยแพร่ข่าวสาร นับว่าเป็นสำนักข่าวแห่งแรกของไทย และในปี [[พ.ศ. 2532]] องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทยอ.ส.ม.ท. ดำเนินการจัดสรรคลื่นความถี่ [[โทรทัศน์เคเบิล|โทรทัศน์ผ่านระบบเคเบิล]], สัมปทานให้เอกชนเช่าสัมปทานและความถี่ และร่วมดำเนินธุรกิจกับเอกชน ในการให้บริการโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก เป็นครั้งแรกของประเทศไทย คือ [[ไอบีซี]] (เริ่มสัญญาเมื่อ [[17 เมษายน]] [[พ.ศ. 2532]]) ซึ่งต่อมารวมกิจการกับยูทีวี (เริ่มสัญญาเมื่อ [[12 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2536]] ปัจจุบันคือ[[ทรูวิชันส์]]) ทั้งนี้ ยังมี[[สถานีโทรทัศน์ไทยสกาย]]อีกแห่งหนึ่ง (ปัจจุบันยุติการออกอากาศแล้ว)
 
=== บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ===
จากนั้นเมื่อวันที่ [[17 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2547]] องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทยอ.ส.ม.ท. ดำเนินการจดทะเบียนจัดตั้ง ''บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) '' เพื่อแปลงสภาพองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทยเป็นนิติบุคคล ประเภทบริษัทมหาชนจำกัด ตามพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจฯ<ref name="mcot_profile"/> โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 3,000 ล้านบาท แบ่งเป็น[[หุ้นสามัญ]]จำนวน 600 ล้านหุ้น ปัจจุบันมี[[กระทรวงการคลัง]]เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ จำนวนร้อยละ 65<ref>[http://mcot-th.listedcompany.com/shareholdings.html ข้อมูลผู้ถือหุ้น อสมท]</ref> บมจ.อสมท เข้าจดทะเบียนซื้อขายหุ้นใน[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] เมื่อวันที่ [[8 ตุลาคม]] พ.ศ. 2547 และกระจายหุ้นสู่มหาชน เมื่อวันที่ [[17 พฤศจิกายน]] พ.ศ. 2547 ก่อนหน้านั้น องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทยอ.ส.ม.ท. จดทะเบียนจัดตั้ง ''บริษัท พาโนราม่า เวิลด์ไวด์ จำกัด'' เป็นบริษัทย่อย เมื่อวันที่ [[21 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2546]] สำหรับผลิตรายการและสารคดีให้กับองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (ปัจจุบันคือ บมจ.อสมท), หน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อเผยแพร่หรือจำหน่ายแก่สถานีโทรทัศน์ ทั้งในและต่างประเทศ
 
=== ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ===
บรรทัด 83:
=== ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ===
{{บทความหลัก|ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี}}
กิจการวิทยุโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ซึ่งเป็นของ บมจ.อสมท โดยตรงคือ '''ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี''' ซึ่งเปลี่ยนชื่อมาจาก '''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4''' (2498-2517), '''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9''' (พ.ศ. 2517 - 2545) และ '''สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์''' (พ.ศ. 2545 - 2558) ตามลำดับ ก่อตั้งเมื่อวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2498]] และเปลี่ยนมาออกอากาศ ด้วยระบบโทรทัศน์สี ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2517]] ดำเนินการแพร่ภาพตลอด 24 ชั่วโมง โดยออกอากาศจากสถานีแม่ข่าย ซึ่งตั้งอยู่ภายในสำนักงานใหญ่ ถนนพระราม 9 ไปยังสถานีเครือข่ายในส่วนภูมิภาค จำนวน 53 สถานีทั่วประเทศ มีขอบเขตการให้บริการ ครอบคลุมพื้นที่ทั่ว[[ประเทศ]] ประมาณร้อยละ 87 และมีประชาชนอยู่ในเขตพื้นที่บริการ ประมาณร้อยละ 88.5
 
=== เครือข่ายโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็มคอต ===
{{บทความหลัก|เครือข่ายโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็มคอท}}
กิจการวิทยุโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ซึ่งดำเนินงานโดย บมจ.อสมท ได้แก่ '''เครือข่ายโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็มคอต''' ออกอากาศด้วยระบบดิจิทัลตลอด 24 ชั่วโมง จำนวน 2 ช่องรายการคือ เอ็มคอตวัน (MCOT1) และเอ็มคอตเวิลด์ (MCOT World) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ [[9 เมษายน]] [[พ.ศ. 2550]] ซึ่งเป็นโอกาสคล้ายวันสถาปนา องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทยอ.ส.ม.ท. ครบรอบ 30 ปี โดยทั้งสองช่องรายการ ออกอากาศรายการ และสาระต่างๆ รวมทั้งข่าวสาร การถ่ายทอดสด และกีฬาต่างๆต่าง ๆ เป็นต้น ปัจจุบัน ทั้ง 2 ช่อง ได้ยุติออกอากาศแล้ว <ref name="Mcot1 ยุติออกอากาศ>http://www.infosats.com/content/6810/ยุติออกอากาศ-mcot1</ref><ref>http://www.mcot.net/mcotworld</ref>
 
[[ไฟล์:Thai_News_Agency_July_2014_logo.png|129px|thumb|ตราสัญลักษณ์สำนักข่าวไทย (ภาษาอังกฤษ)]]
 
=== สถานีวิทยุโมเดิร์นเรดิโอ ===
{{บทความหลัก|สถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์น เรดิโอ}}
กิจการวิทยุกระจายเสียง ในการกำกับดูแลของ บมจ.อสมท คือ '''สถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์น เรดิโอ''' ก่อตั้งเมื่อ วันที่ [[31 มกราคม]] [[พ.ศ. 2497]] ภายใต้ชื่อ สถานีวิทยุกระจายเสียง ท.ท.ท. ของ บริษัท บจก.ไทยโทรทัศน์ จำกัด ในปัจจุบันทำการส่งกระจายเสียงทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีจำนวนสถานีทั่วประเทศทั้งหมดจำนวน 62 สถานี ประกอบไปด้วย สถานีวิทยุที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานครจำนวน 9 สถานี แบ่งเป็นระบบ FM 7 สถานีและระบบ AM 2 สถานี และในส่วนภูมิภาค ส่งกระจายเสียงในระบบ FM 53 สถานี มีขอบเขตการให้บริการครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศประมาณ 92.4% และมีประชาชนอยู่ในเขตพื้นที่บริการประมาณ 93.8% ในปัจจุบันอยู่ระหว่างการดำเนินการขออนุญาตเพื่อทำการจัดตั้งสถานีเครือข่ายเพิ่มเติม เพื่อขยายขอบเขตการให้บริการ
 
=== สำนักข่าวไทย ===
{{บทความหลัก|สำนักข่าวไทย}}[[ไฟล์:Thai_News_Agency_July_2014_logo.png|129px|thumb|ตราสัญลักษณ์สำนักข่าวไทย (ภาษาอังกฤษ)|alt=|left]][[ไฟล์:TNA logo.jpg|thumb|140x140px|ตราสัญลักษณ์สำนักข่าวไทย (ภาษาไทย)]]
{{บทความหลัก|สำนักข่าวไทย}}
กิจการบริการข่าวสาร ในการกำกับดูแลของ บมจ.อสมท คือ '''สำนักข่าวไทย''' ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ [[16 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2520]] เป็นศูนย์กลางในการผลิต รวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร โดยนำเสนอผ่านทางสื่อของบริษัท ได้แก่ สถานีโทรทัศน์ โมเดิร์นไนน์ ทีวี, เครือข่ายสถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์น เรดิโอ, สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเว็บไซต์อีกด้วย นอกจากนี้ยังได้ขยายความร่วมมือด้านต่าง ๆ รวมทั้งการแลกเปลี่ยนข่าวสารกับสำนักข่าว และสื่อสำคัญ ๆ ทั่วโลก
[[ไฟล์:TNA logo.jpg|thumb|140x140px|ตราสัญลักษณ์สำนักข่าวไทย (ภาษาไทย)]]
กิจการบริการข่าวสาร ในการกำกับดูแลของ บมจ.อสมท คือ '''สำนักข่าวไทย''' ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ [[16 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2520]] เป็นศูนย์กลางในการผลิต รวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห์ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร โดยนำเสนอผ่านทางสื่อของบริษัท ได้แก่ สถานีโทรทัศน์ โมเดิร์นไนน์ ทีวี, เครือข่ายสถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์น เรดิโอ, สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเว็บไซต์อีกด้วย นอกจากนี้ยังได้ขยายความร่วมมือด้านต่าง ๆ รวมทั้งการแลกเปลี่ยนข่าวสารกับสำนักข่าว และสื่อสำคัญ ๆ ทั่วโลก
 
[[ไฟล์:Seed975.png|109px|thumb|ตราสัญลักษณ์<br/>บจก.ซี้ดเอ็มคอต]]
 
=== ธุรกิจอื่น ===
บมจ.อสมท มีธุรกิจย่อยสองแห่งคือ บริษัท พาโนรามา เวิลด์ไวด์ จำกัด เพื่อผลิต[[รายการโทรทัศน์]]และสารคดีโทรทัศน์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ [[21 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2546]] และ[[บริษัท ซี้ดเอ็มคอท จำกัด]] เพื่อผลิตรายการทาง[[วิทยุกระจายเสียง]] จัดกิจกรรม[[บันเทิง]] ผลิตสื่อ[[วีดิทัศน์]]และ[[ดนตรี]] รวมถึงธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้อง โดย บมจ.อสมท มีสัดส่วนการถือหุ้น ในทั้งสองบริษัทอยู่ที่ร้อยละ 49.0
 
นอกจากนี้ บมจ.อสมท ยังร่วมดำเนินกิจการกับผู้ประกอบการรายอื่น ประกอบด้วย 2 กิจการหลักที่สำคัญคือ ร่วมกับ[[ บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด]] (บีอีซีBEC) ในการดำเนินกิจการ''[[สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในระยะเวลา 50 ปี (หมดสัญญาไปตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และปัจจุบันคือ[[ช่อง 3 เอชดี]] อสมท'') รวมทั้งให้เช่าเวลาจัดรายการ และโฆษณาทางสถานีวิทยุเอฟเอ็ม 105.5 เมกะเฮิร์ตซ์ และร่วมกับ[[ทรูวิชั่นส์|บริษัท ทรูวิชันส์วิชั่นส์ จำกัด (มหาชน)]] (เดิมคือบริษัท อินเตอร์เนชันแนลบรอดแคสติงคอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ยูทีวีเคเบิลเน็ตเวิร์ก จำกัด (มหาชน) ก่อนจะควบรวมกิจการเมื่อปี [[พ.ศ. 2541]]) ในการดำเนินกิจการโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก โดยมีชื่อว่า ทรูวิชันส์วิชั่นส์ (เดิมชื่อ ไอบีซี/ยูทีวี, ยูบีซี, ยูบีซี-ทรู, ทรูวิชันส์-ยูบีซี)
 
อนึ่ง บมจ.อสมท ยังเคยร่วมกับบริษัท สยามบรอดแคสติง จำกัด เพื่อดำเนินกิจการโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก ภายใต้ชื่อ[[ไทยสกายทีวี]] ระหว่างปี [[พ.ศ. 2534]] -[[พ.ศ. 2540|2540]] อีกด้วย
 
== ตราสัญลักษณ์ ==
=== [[พ.ศ. 2495]] - [[พ.ศ. 2520]] ===
บจก.ไทยโทรทัศน์ ใช้ตราสัญลักษณ์ของสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 เป็นตราสัญลักษณ์ของหน่วยงาน
 
=== พ.ศ. 2520 - [[พ.ศ. 2547]] ===
หลังการก่อตั้งองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย อ.ส.ม.ท. จึงเปลี่ยนสัญลักษณ์เป็นรูปวงกลม ภายในเป็นรูปคลื่นกระจายสัญญาณ โดยฝั่งบนมีสีที่กระจายอยู่ 3 สี คือ [[แดง]] [[เขียว]] [[น้ำเงิน]] และมีตัวอักษรคำว่า อ.ส.ม.ท. แบบโค้งสีดำ อยู่ฝั่งล่างพื้นหลังเป็น[[เหลือง]] ซึ่งอยู่ฝั่งล่าง แต่ในเอกสารจะใช้แบบโครงเส้น
 
=== พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน ===
หลังจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย เป็นบริษัท บมจ.อสมท จำกัด (มหาชน) ตั้งแต่วันที่ [[17 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2547]] ก็ใช้สัญลักษณ์เดิมของโมเดิร์นไนน์ทีวี มาเป็นสัญลักษณ์ประจำหน่วยงาน
 
== ผู้บริหารองค์กร ==
{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน}}
ตำแหน่งผู้บริหารสูงสุดขององค์กรแห่งนี้ เรียกว่า ''ประธานคณะกรรมการ'' (บอร์ด) ส่วนตำแหน่งผู้บริหารองค์กรนั้น มีการเปลี่ยนชื่อไปตามการแปรรูปองค์กร แต่ผู้ดำรงตำแหน่งนี้ ถือว่าเป็น "ผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์" ในทุกสมัยจนถึงปัจจุบัน โดยในยุคแรกคือ บริษัท บจก.ไทยโทรทัศน์ จำกัด ใช้ชื่อตำแหน่งว่า ''กรรมการผู้จัดการ'' ต่อมาในยุค องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทยอ.ส.ม.ท. ใช้ชื่อตำแหน่งว่า ''ผู้อำนวยการ'' และในยุคปัจจุบันคือ บริษัท บมจ.อสมท จำกัด (มหาชน) ใช้ชื่อตำแหน่งว่า ''กรรมการผู้อำนวยการใหญ่'' โดยที่ปรากฏต่อไปนี้ เป็นรายนามของผู้บริหารนับแต่ [[พ.ศ. 2520]] จนถึงปัจจุบัน<ref>รายงานประจำปี พ.ศ. 2553 บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) </ref>
 
=== รายนามประธานคณะกรรมการ ===
 
==== บจก.ไทยโทรทัศน์ ====
* [[เผ่า ศรียานนท์|พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์]] พ.ศ. 2495 -พ.ศ. 2502{{อ้างอิง}}
* [[หม่อมหลวงขาบ กุญชร|พลโท หม่อมหลวงขาบ กุญชร]] พ.ศ. 2502 -พ.ศ. 2520{{อ้างอิง}}
 
==== อ.ส.ม.ท. ====
* [[ชาติชาย ชุณหะวัณ|พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ]] พ.ศ. 2520 -พ.ศ. 2524{{อ้างอิง}}
* [[มีชัย วีระไวทยะ]] พ.ศ. 2524 -พ.ศ. 2528{{อ้างอิง}}
* [[แสวง ธีระสวัสดิ์|พลตำรวจโท แสวง ธีระสวัสดิ์]] พ.ศ. 2528 -พ.ศ. 2530{{อ้างอิง}}
* [[สมบุญ ระหงษ์|พลอากาศเอก สมบุญ ระหงษ์]] พ.ศ. 2530 -พ.ศ. 2531{{อ้างอิง}}
* [[เฉลิม อยู่บำรุง|ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง]] พ.ศ. 2531 -พ.ศ. 2533{{อ้างอิง}}
* [[อาคม มกรานนท์]] พ.ศ. 2533 -พ.ศ. 2536{{อ้างอิง}}
* [[สมเกียรติ อ่อนวิมล]] พ.ศ. 2536 -พ.ศ. 2537{{อ้างอิง}}
* [[สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์|พลตำรวจเอก สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์]] พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2543{{อ้างอิง}}
* เรวัต ฉ่ำเฉลิม พ.ศ. 2543 -พ.ศ. 2547{{อ้างอิง}}
 
==== บมจ.อสมท ====
* เรวัต ฉ่ำเฉลิม : [[พ.ศ. 2547]] -[[พ.ศ. 2549|2549]]
* พงษ์ศักดิ์ พยัฆวิเชียร : พ.ศ. 2549 -[[พ.ศ. 2551|2551]]
* [[จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ]] : พ.ศ. 2551 -พ.ศ. 2552
* [[สุรพล นิติไกรพจน์]] : [[พ.ศ. 2552]] -[[พ.ศ. 2554|2554]]
* สรจักร เกษมสุวรรณ : พ.ศ. 2554 -[[ ตุลาคม พ.ศ. 2555|ตุลาคม 2555]]<ref name="mcot_2011-12-28">[http://mcot.listedcompany.com/newsroom/2011-12-28_MCOT01_TH.pdf ข่าวบริษัท : การแต่งตั้งประธานกรรมการ และคณะกรรมการตรวจสอบ], ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 28 ธันวาคม 2554.</ref><ref>[http://www.settrade.com/simsImg/news/2012/12047537.pdf ข่าวบริษัท : แจ้งกรรมการบริษัทฯ ลาออก], [[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]], 5 กันยายน 2555.</ref>
* [[สุธรรม แสงประทุม]] : [[ธันวาคม พ.ศ. 2555]] - 2557<ref name="mcot_2012-12-04">[http://www.settrade.com/simsImg/news/2012/12058912.pdf ข่าวบริษัท : เลือกตั้งประธานกรรมการ และกรรมการแทนกรรมการที่ลาออก และแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบ], ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 4 ธันวาคม 2555.</ref>
* [[เทวินทร์ วงศ์วานิช|'''เทวินทร์ วงศ์วานิช''']] : พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน<ref>[http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9570000104780 เคาะเลือก “เทวินทร์ วงศ์วานิช” นั่งเก้าอี้ประธานกรรมการ MCOT มีผล 12 ก.ย.นี้], 12 กันยายน 2557</ref>
 
=== รายนามผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์ ===
 
=== รายนามผู้อำนวยการ ===
==== สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 ====
* [[จำนง รังสิกุล]] : พ.ศ. 2498 - พ.ศ. 2512{{อ้างอิง}}
* [[ประสงค์ หงสนันทน์]] : พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 2517{{อ้างอิง}}
* [[สรรพสิริ วิรยศิริ]] : พ.ศ. 2517 - พ.ศ. 2519{{อ้างอิง}}
 
==== อ.ส.ม.ท. ====
* ประมุท สูตะบุตร : พ.ศ. 2520 -[[พ.ศ. 2529|2529]]
* บุญเสริม วีสกุล : พ.ศ. 2529 -[[พ.ศ. 2530|2530]]
* [[มนตรี เจนวิทย์การ]] : พ.ศ. 2530 -[[พ.ศ. 2531|2531]]
* ราชันย์ ฮูเซ็น : พ.ศ. 2531 -[[พ.ศ. 2533|2533]]
* ประสิทธิ์ หิตะนันท์ : [[พ.ศ. 2534]] -[[พ.ศ. 2536|2536]]
* [[แสงชัย สุนทรวัฒน์]] : พ.ศ. 2536 -[[พ.ศ. 2539|2539]]
* อรสา คุณวัฒน์ : พ.ศ. 2539 -[[พ.ศ. 2542|2542]]
* สรจักร เกษมสุวรรณ : พ.ศ. 2542 -[[พ.ศ. 2545|2545]]
* [[มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ]] : พ.ศ. 2545
 
==== บมจ.อสมท ====
* [[มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ]] : พ.ศ. 2545 - 2549
* ชิตณรงค์ คุณะกฤดาธิการ (รักษาการ) : พ.ศ. 2549 -[[พ.ศ. 2550|2550]]
* วสันต์ ภัยหลีกลี้ : พ.ศ. 2550 - 2552
* ธนวัฒน์ วันสม : พ.ศ. 2552 - 2554
* [[จักรพันธุ์ ยมจินดา]] (รักษาการ) : [[มกราคม พ.ศ.- 2555|มกราคม]]-[[พฤษภาคม พ.ศ. 2555]]<ref name="mcot_2012-01-25">[http://mcot.listedcompany.com/newsroom/2012-01-25_MCOT02_TH.pdf ข่าวบริษัท : การแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบ รองประธานกรรมการ และรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่], ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 25 มกราคม 2555.</ref><ref name="mcot_2012-05-11">[http://mcot.listedcompany.com/newsroom/2012-05-11_MCOT01_TH.pdf ข่าวบริษัท : อนุมัติงบการเงินไตรมาสแรก ปี 2555 แต่งตั้งรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ และประธานกรรมการตรวจสอบ], ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 11 พฤษภาคม 2555.</ref>
* เปรมกมลย์ ทินกร ณ อยุธยา (รักษาการ) : [[พฤษภาคม]] -[[ กันยายน พ.ศ. 2555]]<ref name="mcot_2012-05-11"/>
* เอนก เพิ่มวงศ์เสนีย์ : [[ตุลาคม พ.ศ. 2555]] - 12 มิถุนายน พ.ศ. 2557<ref name="mcot_2012-09-26">[http://mcot.listedcompany.com/newsroom/2012-09-26_MCOT02_TH.pdf ข่าวบริษัท : การอนุมัติจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ประจำปี 2555 การแต่งตั้งผู้อำนวยการใหญ่ และกรรมการแทนกรรมการที่ลาออก], ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 26 กันยายน 2555.</ref>
* ศิวะพร ชมสุวรรณ: 1 ธันวาคม พ.ศ. 2557 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2559
* พิเศษ จียาศักดิ์ (รักษาการ) : 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2560
* เขมทัตต์ พลเดช : 7 มีนาคม พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อสมท"