ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไลโซโซม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ลบข้อมูลละเมิดลิขสิทธิ์ (จาก https://www.facebook.com/480871598635171/posts/d41d8cd9/527877737267890/ )
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{Organelle diagram}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ไลโซโซม''' ({{lang-en|Lysosome}}; {{IPAc-en|ˈ|l|aɪ|s|ə|ˌ|s|oʊ|m}}) เป็น[[ออร์แกเนลล์]]มีเยื่อหุ้มที่พบใน[[เซลล์]]สัตว์จำนวนมาก<ref>สำหรับประเด็นถกเถียงเกี่ยวกับออร์แกเนลล์ที่มีหน้าที่ใกล้เคียงกันในเซลล์พืชที่เรียกว่า[[vacuole|แวคิวโอล]] ดูเพิ่มที่ [[:en:Lysosome#Controversy in botany]]</ref> ไลโซโซมมีลักษณะเป็น[[Vesicle (biology and chemistry)|เวซิเคิล]]ทรงกลมที่ภายในบรรจุ[[เอไซม์]][[ไฮโดรไลซิส|ไฮโรไลติก]]ที่สามารถย่อยสลาย[[ชีวโมเลกุล]]หลาย ๆ ชนิดได้ ไลโซโซมหนึ่ง ๆ นั้นมีองค์ประกอบเฉพาะของตน ทั้ง[[membrane protein|โปรตีนเยื่อหุ้ม]] และโปรตีน[[lumen (anatomy)|ลูเมียล]] (โปรตีนในลูเมน) ของมัน ลูเมนของไลโซโซมมีค่า pH อยู่ที่ประมาณ 4.5–5.0<ref>{{cite journal | vauthors = Ohkuma S, Poole B | title = Fluorescence probe measurement of the intralysosomal pH in living cells and the perturbation of pH by various agents | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume = 75 | issue = 7 | pages = 3327–31 | date = July 1978 | pmid = 28524 | pmc = 392768 | doi=10.1073/pnas.75.7.3327}}</ref> ซึ่งเป็นภาวะกรดเบสที่เหมาะสมที่สุดต่อการทำงานของเอนไซม์ที่ใช้ในการไฮโดรไลซิส อุปมาอุปไมยได้กับกระบวนการใน[[กระเพาะ]]ของมนุษย์ นอกจากหน้าที่ในการย่อยสลายพอลีเมอร์ต่าง ๆ แล้ว ไลโซโซมยังมีหน้าที่ในกระบวนการของเซลล์หลายประการ เช่น การหลั่งสาร (secretion), การซ่อมแซม[[plasma membrane|เยื่อหุ้มพลาสมา]], กระบวนการ[[apoptosis|อะพอพทอซิส]] (apoptosis), [[cell signaling|การส่งสัญญาณระหว่างเซลล์]] (cell signaling) และการ[[เมแทบอลิซึม|เมตาบอลิซึมพลังงาน]]<ref>{{cite journal | vauthors = Settembre C, Fraldi A, Medina DL, Ballabio A | title = Signals from the lysosome: a control centre for cellular clearance and energy metabolism | journal = Nature Reviews Molecular Cell Biology | volume = 14 | issue = 5 | pages = 283–96 | date = May 2013 | pmid = 23609508 | pmc = 4387238 | doi = 10.1038/nrm3565 }}</ref>
 
[[File:Lysosomes Digestion.svg|thumb|ภาพแสดงขั้นตอนการย่อยสารของไลโซโซม ขั้นแรกคือการนำสารเข้ามาในเซลล์ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ในฟู๊ดแวคคิวโอล (เรียกกระบวนการนี้ว่า “เอ็นโดไซโตซิส”) ขั้นที่สอง ไลโซโซมซึ่งมีเอไซม์ไฮโดรไลติกที่กระตุ้นแล้วเข้ามา พร้อมกับฟู๊ดแวคคิวโอลเคลื่อนที่ออกจากเยื่อหุ้มเซลล์ ขั้นตอนที่สาม ไลโซโซมรวมเข้ากับฟู๊ดแวคคิวโอลและเอนไซม์ไฮโดรไลติกเคลื่อนที่เข้าไปในฟู๊ดแวคคิวโอล และในขั้นตอนที่สี เอนไซม์ไฮโดรไลติกได้ย่อยสารภายในฟู๊ดแวคคิวโอล<ref>{{cite book | vauthors = Holtzclaw FW, etal | title = AP* Biology: to Accompany Biology | edition = 8th AP | publisher = Pearson Benjamin Cummings | date = 2008 }}</ref>]]
'''ไลโซโซม''' ทำหน้าที่เป็นผู้ขนส่ง[[เอนไซม์]]ที่ใช้ในการย่อยสลาย[[โปรตีน]] [[ไขมัน]] และ[[คาร์โบไฮเดรต]] มีลักษณะเป็นถุง มีเยื่อหุ้มชั้นเดียว พบในเซลล์สัตว์และพืชบางชนิด และ[[เม็ดเลือดขาว]] เซลล์พืชบางชนิด เช่น [[กาบหอยแครง]] [[หม้อข้าวหม้อแกงลิง]]เป็นพืชที่ขาดสารอาหารบางชนิด เช่น N ([[ไนโตรเจน]]) จึงใช้ไลโซโซมในการย่อย[[แมลง]]
 
ไลโซโซมมีหน้าที่เปรียบดั่งระบบที่ทิ้งขยะ (waste disposal system) ของเซลล์ ผ่านการย่อยสลายสารหรือองค์ประกอบในเซลล์ที่ไม่ได้ใช้งานแล้วหรือถูกแยกกกออกมา ทั้งที่เป็นสารจากภายนอกและภายในเซลล์ สารจากภายนอกเซลล์นั้นเข้ามาในเซลล์ผ่านการ[[endocytosis|เอ็นโดไซโตซิส]] (endocytosis) ส่วนสารภายในเซลล์จะถูกย่อยผ่านการ[[autophagy|ออโตฟากี]] (autophagy)<ref>{{cite journal|title=When the brain's waste disposal system fails |journal=Knowable Magazine |last=Underwood |first=Emily |doi=10.1146/knowable-121118-1 |url=https://www.knowablemagazine.org/article/living-world/2018/when-brains-waste-disposal-system-fails|year=2018 }}</ref> ขนาดของไลโซโซมนั้นแตกต่างกันมาก บางไลโซโซมตัวใหญ่อาจมีขนาดกว่าสิบเท่าของไลโซโซมตัวเล็ก<ref>{{cite book| editor-last1 = Zaftig | editor-first1 = Paul | title = Lysosomes | chapter = History and Morphology of Lysosome | first1 = Renate | last1 = Lüllmznn-Rauch | name-list-format = vanc | date = 2005 | publisher = Landes Bioscience/Eurekah.com | location=Georgetown, Tex. | isbn = 978-0-387-28957-1 | edition = Online-Ausg. 1 | pages = 1–16 | chapter-url = https://books.google.com/books?id=mTgNUPS5tcUC&dq}}</ref> ไลโซโซมนั้นค้นพบและตั้งชื่อโดยนักชีววิทยาชาวเบลเยียม [[Christian de Duve|คริสเชียน เดอ ดูเว]] (Christian de Duve) ผู้ซึ่งในที่สุดได้รับรางวัล[[Nobel Prize in Physiology or Medicine|โนเบลสาขากายวิภาคศาสตร์หรือการแพทย์]] ในปี 1974
 
จากการศึกษาพบว่าภายในไลโซโซมประกอบเอนไซม์ชนิดต่าง ๆ กว่า 60 ชนิด และมีเมมเบรนโปรตีน (membrane protein) มากกว่า 50 ชนิด<ref>{{cite journal | vauthors = Xu H, Ren D | title = Lysosomal physiology | journal = Annual Review of Physiology | volume = 77 | issue = 1 | pages = 57–80 | date = 2015 | pmid = 25668017 | pmc = 4524569 | doi = 10.1146/annurev-physiol-021014-071649 }}</ref><ref>{{cite web|title=Lysosomal Enzymes|url=https://www.rndsystems.com/research-area/lysosomal-enzymes|website=www.rndsystems.com|publisher=R&D Systems|access-date=4 October 2016}}</ref> เอนไซม์ต่าง ๆ ในไลโซโซมนั้นสังเคราะห์ขึ้นใน[[rough endoplasmic reticulum|รัฟเอ็นโดพลาสมิกเรกติคูลัม]] (rough endoplasmic reticulum) และส่งไปยัง[[กอลไจแอบพาราตัส]] (Golgi apparatus) ภายในเวสซิเคิล (vesicles) เล็ก ๆ เอนไซม์ที่จะถูกใช้โดยไลโซโซมนั้นจะถูกเติม [[mannose 6-phosphate|แมนโนส 6-ฟอสเฟต]] (mannose 6-phosphate) เพื่อจะถูกแบ่งเป็นเวสซิเคิลที่ถูกทำเป็นกรดแล้ว (acidified vesicles) ได้<ref>{{cite journal | vauthors = Saftig P, Klumperman J | title = Lysosome biogenesis and lysosomal membrane proteins: trafficking meets function | journal = Nature Reviews Molecular Cell Biology | volume = 10 | issue = 9 | pages = 623–35 | date = September 2009 | pmid = 19672277 | doi = 10.1038/nrm2745 }}</ref><ref>{{cite journal | vauthors = Samie MA, Xu H | title = Lysosomal exocytosis and lipid storage disorders | journal = Journal of Lipid Research | volume = 55 | issue = 6 | pages = 995–1009 | date = June 2014 | pmid = 24668941 | pmc = 4031951 | doi = 10.1194/jlr.R046896 }}</ref>
 
การสังเคราะห์เอนไซม์ไลโซโซม (lysosomal enzymes) ต่าง ๆ นั้นควบคุมโดย [[nuclear gene|ยีนนิวเคลียส]] (nuclear gene) หากเกิด[[Mutation|มิวเตชั่น]]ขึ้นในยีนสำหรับสร้างเอนไซม์เหล่านี้ เป็นผลให้เกิด[[genetic disorder|โรคทางพันธุกรรม]]ต่าง ๆ ในมนุษย์กว่า 30 โรคที่ต่างกัน ซึ่งเรียกรวมกันว่ากลุ่ม[[lysosomal storage disease|โรคไลโซโซมอลสตอราจ]] (lysosomal storage diseases)<ref name="platt">{{cite journal | vauthors = Platt FM, Boland B, van der Spoel AC | title = The cell biology of disease: lysosomal storage disorders: the cellular impact of lysosomal dysfunction | journal = The Journal of Cell Biology | volume = 199 | issue = 5 | pages = 723–34 | date = November 2012 | pmid = 23185029 | pmc = 3514785 | doi = 10.1083/jcb.201208152 }}</ref><ref>{{cite journal | vauthors = He LQ, Lu JH, Yue ZY | title = Autophagy in ageing and ageing-associated diseases | journal = Acta Pharmacologica Sinica | volume = 34 | issue = 5 | pages = 605–11 | date = May 2013 | pmid = 23416930 | pmc = 3647216 | doi = 10.1038/aps.2012.188 }}</ref> <ref>{{Cite journal|last=Carmona-Gutierrez|first=Didac|last2=Hughes|first2=Adam L.|last3=Madeo|first3=Frank|last4=Ruckenstuhl|first4=Christoph|date=2016-12-01|title=The crucial impact of lysosomes in aging and longevity|journal=Ageing Research Reviews|series=Lysosomes in Aging|volume=32|pages=2–12|doi=10.1016/j.arr.2016.04.009|pmid=27125853|pmc=5081277|issn=1568-1637}}</ref>
 
อย่างไรก็ตาม ไลโซโซมนั้นอาจถูกสับสนกับ[[liposome|ไลโปโซม]] (liposome) หรือ[[micelle|ไมเซลล์]] (micelle) ได้ ซึ่งทั้งสามสิ่งนี้เป็นคนละสิ่งกัน
 
==อ้างอิง==
เส้น 7 ⟶ 16:
 
{{ออร์แกเนลล์}}
 
 
[[หมวดหมู่:กายวิภาคศาสตร์เซลล์]]