ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แนวมาฌีโน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mayson001 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mayson001 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 39:
เส้นมาฌีโนถือเป็นแนวป้องกันที่แน่นหนาต่อการถูกโจมตีทุกรูปแบบ แต่อย่างไรก็ตาม เยอรมันได้ทำการรุกรานผ่าน[[กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ]] โดยผ่านทางเหนือของแนวป้องกัน หลังจากนั้นแนวป้องกันถูกอุปมาเป็นการทุ่มเททั้งเม็ดเงินมหาศาลและความพยายามที่จะหยุดยั้งการุรกรานจากเยอรมันแบบวิธี
 
เส้นมาฌีโนถูกสร้างในอาณาเขตฝรั่งเศส โดยตั้งอยู่ห่างราวสิบถึงยี่สิบกิโลเมตรจากแนวพรมแดนที่ติดกับ[[ราชอาณาจักรอิตาลี|อิตาลี]] [[สวิตเซอร์แลนด์]] เยอรมนี และ[[ลักเซมเบิร์ก]] แนวป้องกันนี้ไม่ได้ขยายไปยัง[[ช่องแคบอังกฤษ]] เนื่องจากกลยุทธ์ของฝรั่งเศสที่ได้คาดการณ์การเคลื่อนทัพเข้าสู่[[เบลเยียม]]เพื่อตอบโต้การโจมตีของเยอรมัน จากประสบการณ์ของฝรั่งเศสด้วยการทำ[[สงครามสนามเพลาะ]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] แนวมาฌีโนขนาดใหญ่ได้ถูกสร้างขึ้นในช่วงก่อน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ภายหลัง[[สนธิสัญญาโลคาร์โน|การประชุมโลคาร์โน]] ได้ก่อให้เกิด "จิตวิญญาณแห่งโลคาร์โน" ผู้เชี่ยวชาญทางทหารของฝรั่งเศสได้ยกย่องแนวป้องกันนี้เป็นผลงานอัจฉริยะที่สามารถยับยั้งการรุกรานของเยอรมัน เพราะจะทำให้การรุกรานชะลอตัวนานพอที่กองทัพหลักของฝรั่งเศสจะสามารถระดมพลและตอบโต้กลับ
 
จากประสบการณ์ของฝรั่งเศสด้วยการทำ[[สงครามสนามเพลาะ]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] แนวมาฌีโนขนาดใหญ่ได้ถูกสร้างขึ้นในช่วงก่อน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ภายหลัง[[สนธิสัญญาโลคาร์โน|การประชุมโลคาร์โน]] ได้ก่อให้เกิด"จิตวิญญาณแห่งโลคาร์โน" ผู้เชี่ยวชาญทางทหารของฝรั่งเศสได้ยกย่องแนวนี้เป็นงานอัจฉริยะที่สามารถยับยั้งการรุกรานของเยอรมัน เพราะจะทำให้การรุกรานชะลอตัวนานพอที่กองทัพฝรั่งเศสสามารถระดมพลและตอบโต้กลับ
 
แนวมาฌีโนนี้ไม่ได้ให้อนุญาตให้มีการโจมตีมากที่สุด รวมทั้งการทิ้งระเบิดทางอากาศและการยิงปืนรถถังและมีรถไฟใต้ดินเป็นกองสนับสนุน นอกจากนี้สภาพความเป็นอยู่ที่ทันสมัยสำหรับทหารประจำการ การจัดส่งเสบียงทางอากาศที่จำกัด และพื้นที่การกินสำหรับความสะดวกสบายของพวกเขา แทนที่จะโจมตีโดยตรง เยอรมันได้บุกเข้าโจมตีกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ โดยก้าวข้ามแนวทางตอนเหนือ เจ้าหน้าที่ทหารฝรั่งเศสและอังกฤษได้คาดการณ์ไว้แล้ว เมื่อเยอรมนีได้เข้ารุกรานเนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม พวกเขาได้ดำเนินวางแผนด้วยการรุกไปยังแนวรบข้างหน้าเพื่อตัดผ่านเบลเยียมและเชื่อมต่อกับแนวมาฌีโน อย่างไรก็ตาม, แนวป้องกันฝรั่งเศสมีจุดที่เปราะบางอยู่ใกล้กับป่าอาร์แดน ด้วยความเชื่อของฝรั่งเศสว่าบริเวณนั้นเป็นพื้นที่ขรุขระ เป็นเส้นทางของการรุกรานของกองทัพเยอรมันที่ไม่น่าจะเป็นไปได้ ถ้าบุกเข้ามาจริงก็จะทำให้เกิดความล่าช้าที่จะช่วยให้เวลาแก่ฝรั่งเศสเพื่อเตรียมกองกำลังสำรองและตอบโต้กลับ กองทัพเยอรมัน ได้กำหนดแผนใหม่ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง-กลายเป็นความตระหนักถึงและใช้ประโยชน์จากจุดอ่อนในแนวป้องกันฝรั่งเศส การรุกอย่างรวดเร็วผ่านป่าและก้าวข้ามแม่น้ำมิวส์เข้าตีโอบล้อมส่วนใหญ่ของกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร ส่งผลให้กองกำลังขนาดใหญ่ได้เริ่มต้นด้วยการอพยพที่[[การอพยพดันเคิร์ก|ดันเคิร์ก]] ทิ้งเหลือเพียงกองกำลังทางใต้ที่ไม่สามารถต้านทานได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อการรุกรานฝรั่งเศสของเยอรมัน