ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีกรมป่าไม้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 30:
 
== ที่ตั้ง ==
ตั้งอยู่บน[[ถนนพหลโยธิน]] สายสุขุมวิท จะตั้งตามแนว[[ถนนพหลโยธิน]]
ตั้งอยู่บริเวณกลางวงเวียน[[อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ]] จุดตัดระหว่าง[[ถนนพหลโยธิน]] [[ถนนแจ้งวัฒนะ]] และ[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304|ถนนรามอินทรา]] ในพื้นที่แขวงอนุสาวรีย์ [[เขตบางเขน]] [[กรุงเทพมหานคร]] โดยสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท จะตั้งตามแนว[[ถนนพหลโยธิน]] โดยคร่อมอยู่เหนืออุโมงค์ลอดใต้วงเวียนอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ และสถานีรถไฟฟ้าสายสีชมพู จะขนาบข้างสะพานข้ามวงเวียนอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ ตามแนว[[ถนนรามอินทรา]]
 
ในแผนงานเดิมของ[[สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร]] (สถานะก่อน[[กรมการขนส่งทางราง]]) สถานีแห่งนี้ใช้ชื่อว่า '''สถานีวงเวียนหลักสี่''' ตามชื่อทางแยก และ '''สถานีอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ''' ตามชื่ออนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญอันเป็นสัญลักษณ์ใหญ่ในพื้นที่ตั้ง แต่ในแผนการดำเนินการของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ได้มีการเปลี่ยนชื่อสถานีแห่งนี้เป็น '''สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ''' ตามชื่อวัดพระศรีมหาธาตุและตามชื่อสถานีในสายสีชมพู อย่างไรก็ตามในช่วงแรกของการเปิดให้บริการส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้ (แบริ่ง-สำโรง) บีทีเอสซี และกรุงเทพมหานคร ได้ประกาศชื่อสถานีเป็น '''สถานีอนุสาวรีย์หลักสี่''' ก่อนแจ้งยืนยันชื่อสถานีกับกรมการขนส่งทางรางและเปลี่ยนกลับเป็น '''สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ''' ตามเดิม
บรรทัด 36:
อนึ่ง ในคราวก่อสร้างสถานีแห่งนี้ ได้มี ''กลุ่มคนไม่ระบุหน่วยงาน'' เข้ามารื้อย้ายอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญออกไปจากพื้นที่ เพื่อเป็นการเตรียมพื้นที่ให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยและกิจการร่วมค้าบีเอสอาร์ดำเนินการเข้าพื้นที่เพื่อก่อสร้างสถานี ซึ่งผลการกระทำดังกล่าวได้สร้างความไม่พอใจกับประชาชน รวมถึงสร้างแรงกดดันทางการเมืองกับฝ่ายประชาธิปไตย<ref>{{cite news |url=https://www.bbc.com/thai/thailand-46719147 |title=สัญลักษณ์ประชาธิปไตยล่องหน จากหมุดคณะราษฎรสู่อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ|work=บีบีซีไทย |date=2018-12-31 |accessdate=2020-05-17 }}</ref> เดิมที รฟม. ได้มีการเคลื่อนย้ายจากตำแหน่งเดิม 45 องศา เพื่อใช้พื้นที่ก่อสร้างสถานี และไม่ให้บดบังทัศนียภาพของวัดพระศรีมหาธาตุ รวมถึงเตรียมที่จะบูรณะใหม่ให้สมบูรณ์มากขึ้น แต่ไม่นานหลังจากนั้นก็เกิดเหตุการณ์นี้ และทั้งกรุงเทพมหานคร และรฟม. ได้ปฏิเสธว่าไม่ทราบเรื่องการย้ายอนุสาวรีย์ออกไปจากพื้นที่ ภายหลังได้มีการทุบฐานอนุสาวรีย์ทิ้งทั้งหมด<ref>{{cite news |url=https://prachatai.com/journal/2020/02/86493 |title=ฐานอนุสาวรีย์ปราบกบฏบวรเดช ถูกทุบแล้ว หลังตัวอนุสาวรีย์หายไปปีกว่า|work=ประชาไท |date=2020-02-23 |accessdate=2020-05-17 }}</ref>และปรับปรุงใหม่เป็นสวนหย่อมเพื่อเพิ่มทัศนียภาพ
 
<br />
ในช่วงเปิดทำการ สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ จะทำหน้าที่เป็นสถานีปลายทางในส่วนเหนือ (Northbound Section) ของโครงการรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 (สุขุมวิท) ไปจนกว่าการติดตั้งระบบในส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท ระยะที่ 4 (วัดพระศรีมหาธาตุ - คูคต) จะแล้วเสร็จทั้งระบบในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2563
 
== แผนผังของสถานี ==