ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องศาเรอเมอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wittawin Panta (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
[[ไฟล์:Rømer,_Ole_(ur_Berømte_danske_maend).jpg|thumb|215x215px|โอเล คริสเตนเซน เรอเมอร์ ผู้คิดค้นมาตรวัดอุณหภูมิองศาเรอเมอร์]]
'''[[องศาเรอเมอร์]]''' ([[อังกฤษ]]: Rømer Scale, สัญลักษณ์: °Rø) คือหน่วยวัดอุณหภูมิที่คิดค้นโดยนักดาราศาสตร์ชาวเดนมาร์ก โอเล คริสเตนเซน เรอเมอร์ ([[:en:Ole_Rømer|Ole Christensen Rømer]]) โดยตีพิมพ์เมื่อปี ค.ศ.1701 ไล่เรี่ยกันกับองศานิวตัน<ref>{{cite book|title=Popularization and People (1911–1962)|url=https://books.google.com/books?id=dpb1GaDPoq0C&pg=PA431|date=22 October 2013|publisher=Elsevier|isbn=978-0-08-046687-3|pages=431–|quote=... letter from Fahrenheit to his Dutch colleague Hermann Boerhaave (1668–1738) dated 17 April 1729 in which Fahrenheit describes his experience at Rømer's laboratory in 1708.}}</ref> โดยกำหนดให้ 7.5°Rø เป็นจุดเยือกแข็งของน้ำ และ 60°Rø เป็นจุดเดือดของน้ำ โดย 0°Rø คือจุดเยือกแข็งของน้ำ น้ำแข็ง และ เกลือแอมโมเนียมคลอไรด์ (คล้ายกับฟาเรนไฮต์)<ref>Susan Wills, Steven R. Wills, ''Meteorology: Predicting the Weather'', pp. 19-21, The Oliver Press, Inc., 2003 {{ISBN|1881508617}}.</ref> โดยอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1°Rø คือ 40/21°C เป็นหน่วยอุณหภูมิแรกที่มีการกำหนดตัวเลขอุณหภูมิอย่างชัดเจนร่วมกับองศานิวตัน (ก่อนหน้านั้น เทอร์โมมิเตอร์วัดได้แค่ร้อนหรือเย็นเท่านั้น)<ref>Jonathan Shectman, ''Groundbreaking Scientific Experiments, Inventions, and Discoveries of the 18th Century'', pp. 248–49, Greenwood Publishing Group, 2003 {{ISBN|0313320152}}.</ref> เรอเมอร์เป็นคนที่วัดความเร็วแสงได้อย่างเที่ยงตรงเป็นคนแรก<ref name="Saito">{{cite journal|last=Saito|first=Yoshio|title=A Discussion of Roemer's Discovery concerning the Speed of Light|journal=AAPPS Bulletin|volume=15|issue=3|pages=9–17|date=June 2005}}</ref> จากการสังเกตการณ์สุริยุปราคา และ กาเบรียล ฟาเรนไฮต์ ได้นำองศาเรอเมอร์มาปรับปรุงในปี ค.ศ.1708 และประดิษฐ์มาตรวัดอุณหภูมิองศาฟาเรนไฮต์<ref name="SchlagerLauer2001">{{cite book|author1=Neil Schlager|author2=Josh Lauer|title=Science and Its Times: 1700–1799|url=https://books.google.com/books?id=6I1FAAAAYAAJ|date=2001|publisher=Gale Group|isbn=978-0-7876-3936-5|pages=341–|quote=In 1708 Fahrenheit visited Ole Romer (1644–1710). Since at least 1702 Romer had been making alcohol thermometers with two fixed points and a scale divided into equal increments. He impressed upon Fahrenheit the scientific importance of ...}}</ref> ที่กลายเป็นมาตรวัดอุณหภูมิอย่างเป็นทางการในหน่วยวัดแบบอังกฤษ และกลายเป็นที่นิยมใช้ในสหรัฐอเมริกา และ จักรวรรดิบริเตนในอดีต
เส้น 150 ⟶ 151:
 
== ดูเพิ่มเติม ==
 
# https://en.wikipedia.org/wiki/Ole_R%C3%B8mer
# [[การแปลงหน่วยอุณหภูมิ]]
 
== อ้างอิง ==
<references />
 
{{Navbox|name=อุณหภูมิ|title=[[การแปลงหน่วยอุณหภูมิ|มาตรวัดอุณหภูมิ]]{{·}}|list1=[[องศาเซลเซียส|เซลเซียส]]{{·}} [[องศาฟาเรนไฮต์|ฟาเรนไฮต์]]{{·}} [[เคลวิน]]{{·}} [[องศาเดลิเซิล|เดลิเซิล]]{{·}} [[องศานิวตัน|นิวตัน]]{{·}} [[องศาแรงคิน|แรงคิน]]{{·}} [[องศาโรเมอร์|โรเมอร์]]{{·}} [[องศาเรอเมอร์|เรอเมอร์]]|below=สูตรการแปลงผันและการเปรียบเทียบมาตรวัดอุณหภูมิ}}