ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ (ไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ.jpg|300px|thumb|กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ ขนาด 40 เมตร]]
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ 2|ชื่อหน่วยงาน=หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ|ชื่อในภาษาแม่_1=Thai National Radio Astronomy Observatory|ตรา=[[ไฟล์:TNRO Color.jpg|thumb|]]|กองบัญชาการ=ภายในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่|หัวหน้า1_ชื่อ=ดร. ศรัณย์ โปษยะจินดา|หัวหน้า1_ตำแหน่ง=ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ|ต้นสังกัด=สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)|แผนที่=|เว็บไซต์={{url|http://www.narit.or.th}} </br> [https://www.facebook.com/NARITpage?fref=ts เฟซบุ๊กสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)]}}
'''หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ''' เป็นหนึ่งในโครงสร้างพื้นฐานทางดาราศาสตร์หลักที่สำคัญของไทย ภายใต้โครงการพัฒนาเครือข่ายดาราศาสตร์วิทยุและยีออเดซี (Radio Astronomical Network and Geodesy for Development, RANGD) เพื่อขยายขีดความสามารถเชิงสังเกตการณ์ด้านคลื่นวิทยุ ก่อให้เกิดความร่วมมือกับเครือข่ายดาราศาสตร์วิทยุทั่วโลกเพื่อการพัฒนางานวิจัยทางด้านดาราศาสตร์วิทยุและทางด้านธรณีวิทยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเปลือกโลกซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการเกิดภัยพิบัติบนพื้นโลก เช่น การเกิดแผ่นดินไหว หรือสึนามิ เป็นต้น นอกจากนี้ยังจะพัฒนาความเชี่ยวชาญของบุคลากรทั้งด้านการทำวิจัย และวิศวกรรม ถือเป็นการทำงานร่วมกันในภูมิภาค และเกิดเป็นเครือข่ายความร่วมมือด้านดาราศาสตร์ระดับโลกต่อไปในอนาคต
 
'''หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ''' ตั้งอยู่ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ [[อำเภอดอยสะเก็ด]] [[จังหวัดเชียงใหม่]] มีกำหนดเปิดใช้งานในปีพ.ศ. 2564 อยู่ภายใต้การดูแลของ[[สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)|สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ]] ใช้งบประมาณในการก่อสร้างโครงการนี้ทั้งสิ้น 532 ล้านบาท<ref name = "parli"/>
กล้องโทรทรรศน์วิทยุ จะเป็นเครื่องมือทางดาราศาสตร์ที่สำคัญสำหรับสังเกตการณ์คลื่นวิทยุ ซึ่งมีแหล่งกำเนิดจากเทหวัตถุนอกโลก สัญญาณต่าง ๆ บนชั้นบรรยากาศ หรือ ดาวเทียม เพื่อหาตำแหน่งบนพื้นผิวโลก
 
== กล้องภายในศูนย์ ==
ปัจจุบันยังไม่มีกล้องโทรทรรศน์วิทยุใช้งานในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาคนี้มีความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์ เนื่องด้วยสามารถเป็นจุดเชื่อมระหว่างเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ทางไกล VLBI (Very Long Baseline Interferometer)  ใกล้เคียง เช่น เอเชียตะวันออก และออสเตรเลีย เป็นต้น ประเทศไทยอยู่ในตำแหน่งที่ตั้งที่เป็นศูนย์กลางของภูมิภาค จึงเหมาะสมอย่างยิ่งต่อการติดตั้งกล้องโทรทรรศน์วิทยุขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระดับ 25 เมตรขึ้นไป เพื่อเชื่อมต่อและร่วมสังเกตการณ์กับเครือข่าย VLBI ของโลก ซึ่งเป็นความร่วมมือกับหลายหน่วยงานในต่างประเทศ เช่น จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เยอรมัน อังกฤษ เป็นต้น
ภายในหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ ประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุจำนวน 2 ชุดระบบ ได้แก่:
 
=== กล้องโทรทรรศน์วิทยุขนาด 40 เมตร ===
== ประวัติ ==
กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติขนาด 40 เมตร เป็น[[กล้องโทรทรรศน์วิทยุ]]แห่งแรกและใหญ่ที่สุดใน[[ประเทศไทย]]และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 40 เมตร หมุนได้รอบทิศทาง 360 องศา และปรับมุมเงยได้ 180 องศา สามารถรับคลื่นความถี่ได้ระหว่าง 1 ถึง 116 GHz<ref>[https://www.craf.eu/radio-observatories-in-europe/yebes/ Yebes] Committee on Radio Astronomy Frequencies</ref> จานสะท้อนหลักประกอบด้วยแผงอลูมิเนียม 420 แผง แต่ละแผงมีความหนา 1.8 มิลลิเมตร จานสะท้อนรองมีขนาด 3.28 เมตร กล้องโทรทรรศน์วิทยุนี้สามารถปฏิบัติงานได้แม้อยู่ในสภาพลมจัด (50 กม/ชม.) กล้องชุดนี้ใช้งบประมาณในการสร้าง 448 ล้านบาท<ref name = "parli">[https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parbudget/download/article/article_20191213150940.pdf รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม] สำนักงบประมาณของรัฐสภา สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร</ref>
โครงการพัฒนาเครือข่ายดาราศาสตร์วิทยุและยีออเดซี (Radio Astronomical Network and Geodesy for Development, RANGD) หรือ “โครงการแรงดี” เป็นหนึ่งในโครงการหลักของ สดร. ในช่วงที่สอง (พ.ศ. 2560-2564) เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของดาราศาสตร์สาขาอื่นที่มีมากขึ้น ดาราศาสตร์วิทยุจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญเท่าเทียมกับดาราศาสตร์ในช่วงคลื่นที่ตามองเห็น
 
มีต้นแบบและพัฒนามาจากกล้องโทรทรรศน์วิทยุเยเบส ประเทศสเปน ซึ่งใช้ระบบ Cassegrain-Nasmyth Optics โดยเพิ่มเครื่องรับสัญญาณไว้ที่จุดโฟกัสหลัก ทำให้สามารถรับสัญญาณที่ช่วงความถี่อื่นได้ พร้อมการออกแบบ Nasmyth ให้มีข้อได้เปรียบเรื่องความยืดหยุ่นในการติดตั้งเครื่องรับสัญญาณในอนาคต มีเป้าหมายคือ พื้นผิวจานต้องมีความถูกต้องแม่นยำถึงระดับ 150 ไมครอน (um) (RMS) ความเร็วในการหมุนจาน 3 เมตรต่อวินาที (m/s) สำหรับมุมกวาด (Azimuth)  และ 1 เมตรต่อวินาทีสำหรับมุมเงย (Altitude) ความแม่นยำในการวัดตำแหน่งไม่คลาดเคลื่อนไปกว่า 2 ฟิลิปดา ในกรณีไม่มีลม และ 6 ฟิลิปดา ในกรณีมีลม
ด้วยเหตุที่ดาราศาสตร์วิทยุสามารถปฏิบัติการได้อย่างหลากหลาย ในการตรวจวัดสัญญาณจากเอกภพ เครื่องมือรับสัญญาณของศาสตร์นี้คือกล้องโทรทรรศน์วิทยุ (Radio Telescope) สามารถตรวจวัดโมเลกุลและแก๊สที่ถูกบดบังด้วยฝุ่นในอวกาศ อีกทั้งยังสามารถทำงานได้ในเวลากลางวัน หรือแม้กระทั่งขณะที่สภาพอากาศบบนโลกไม่เหมาะสม เนื่องจากกล้องโทรทรรศน์วิทยุทำการสังเกตการณ์ในช่วงสัญญาณคลื่นที่มีความถี่ต่ำกว่า จึงทำให้สามารถทำงานได้เกือบตลอด 24 ชั่วโมง ไม่มีข้อจำกัดเหมือนกล้องโทรทรรศน์แสง คุณสมบัตินี้สามารถเติมช่องว่างของดาราศาสตร์ และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ในไทย รวมถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้อีกด้วย
 
== ที่ตั้ง ==
ภายในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ [[อำเภอดอยสะเก็ด]] [[จังหวัดเชียงใหม่]]
 
พื้นที่ดังกล่าว มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม อยู่ห่างตัวเมืองเชียงใหม่ออกไปประมาณ 30 กิโลเมตร ห่างไกลจากแหล่งกำเนิดสัญญาณวิทยุรบกวน  นอกจากนี้ ยังได้ร่วมมือกันวางแผนจัดตั้ง “อุทยานเรียนรู้ดาราศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามแนวพระราชดำริฯ อีกด้วย
 
<br />
 
== กล้องโทรทรรศน์วิทยุ ==
กล้องโทรทรรศน์วิทยุเป็นเครื่องมือสำหรับสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในอวกาศ ในช่วงคลื่นที่ตามนุษย์มองไม่เห็น และนอกเหนือจากการใช้งานทางดาราศาสตร์แล้ว กล้องโทรทรรศน์วิทยุขนาดใหญ่ ยังทำให้เกิดความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นสิ่งขับเคลื่อนความก้าวหน้าของเทคโนโลยีขั้นสูงในประเทศไทย เช่น โทรคมนาคม การจัดการหรือประมวลผล ข้อมูลปริมาณมาก วิศวกรรมโครงสร้างซับซ้อน และวิศวกรรมอวกาศ เป็นต้น
 
ภายในหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ ประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุจำนวน 2 ชุด ได้แก่
 
=== กล้องโทรทรรศน์วิทยุ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เมตร ===
[[กล้องโทรทรรศน์วิทยุ]] ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางจานรับสัญญาน 40 เมตร เป็นกล้องโทรทรรศน์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน[[ประเทศไทย]]และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ฐานรากมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 18 เมตร อาคารฐานรากมีความสูงประมาณอาคาร 3 ชั้น ประกอบด้วยห้องปฏิบัติการนักดาราศาสตร์ ห้องเก็บอุปกรณ์รับสัญญาณวิทยุ ห้องรับสัญญาณ รับความถี่คลื่นวิทยุได้ถึง 100 กิกะเฮิร์ตซ์  หมุนได้รอบทิศทาง 360 องศา และปรับมุมเงยได้ 180 องศา สามารถรับคลื่นความถี่ได้ระหว่าง 1 ถึง 116 GHz <ref>[https://www.craf.eu/radio-observatories-in-europe/yebes/ Yebes] Committee on Radio Astronomy Frequencies</ref> จานสะท้อนหลักประกอบด้วยแผงอะลูมิเนียม 420 แผง แต่ละแผงมีความหนา 1.8 มิลลิเมตร จานสะท้อนรองมีขนาด 3.28 เมตร โดยความร่วมมือระหว่าง สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) และอีกหลายหน่วยงาน เช่น หอดูดาวเยเบส (Yebes Observatory) ภายใต้การดูแลของ สถาบันภูมิศาสตร์ประจำประเทศสเปน (Spanish National Geographic Institute, IGN) และ สถาบันดาราศาสตร์วิทยุมักซ์พลังค์ (Max Planck Institute for Radio Astronomy, MPIfR) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สร้างโดยบริษัทเอ็มทีเมคคาทรอนิกส์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
 
จานรับสัญญาณรูปทรงเป็นส่วนโค้งพาราโบลอยด์ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เมตร ทำหน้าที่เป็นผิวสะท้อนหลัก รับสัญญาณโดยการสะท้อนจากผิวสะท้อนหลักที่อยู่ด้านข้างไปยังผิวสะท้อนรอง รูปทรงไฮเพอร์โบลิก เพื่อเข้าสู่เครื่องรับสัญญาณภายใน ส่วนของจานสะท้อนสัญญาณสามารถหมุนได้ทั้งตามแกนตั้ง (Azimuth Axis) และแกนนอน (Elevation Axis) เพื่อติดตามแหล่งกำเนิดคลื่นวิทยุที่ต้องการสังเกตการณ์
[[ไฟล์:จานรับสัญญานกล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ.jpg|thumb|จานรับสัญญานกล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ]]
มีต้นแบบและพัฒนามาจากกล้องโทรทรรศน์วิทยุเยเบส ใช้ระบบ Cassegrain-Nasmyth Optics โดยเพิ่มเครื่องรับสัญญาณไว้ที่จุดโฟกัสหลัก ทำให้สามารถรับสัญญาณที่ช่วงความถี่อื่นได้ พร้อมการออกแบบ Nasmyth ให้มีข้อได้เปรียบเรื่องความยืดหยุ่นในการติดตั้งเครื่องรับสัญญาณในอนาคต มีเป้าหมายคือ พื้นผิวจานต้องมีความถูกต้องแม่นยำถึงระดับ 150 ไมครอน (um) (RMS) ความเร็วในการหมุนจาน 3 เมตรต่อวินาที (m/s) สำหรับมุมกวาด (Azimuth)  และ 1 เมตรต่อวินาทีสำหรับมุมเงย (Altitude) ความแม่นยำในการวัดตำแหน่งไม่คลาดเคลื่อนไปกว่า 2 ฟิลิปดา ในกรณีไม่มีลม และ 6 ฟิลิปดา ในกรณีมีลม
 
17 มีนาคม 2560 ลงนามจัดซื้อกล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ เส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เมตร จานแรกของไทย กับบริษัทเอ็มทีเมคคาทรอนิกส์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ผู้นำระดับโลกด้านกล้องโทรทรรศน์และเทคโนโลยีวิศวกรรมการสื่อสารในห้วงอวกาศลึก
 
กุมภาพันธ์ 2563 ยกจานรับสัญญาณหลัก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เมตร ติดตั้ง ณ บนอาคารควบคุมกล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ สูงประมาณ 22 เมตร
 
=== กล้องโทรทรรศน์วิทยุวีกอส ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 13 เมตร ===
กล้องโทรทรรศน์วิทยุวีกอส (VGOS: VLBI Geodetic Observing System) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางจานรับสัญญาณ 13 เมตร สร้างขึ้นภายใต้โครงการแรงดี (RANGD: Radio Astronomical Network and Geodesy for Development) มีต้นแบบและพัฒนามาจากหอดูดาวเซี่ยงไฮ้ หน่วยเฉอชาน (Shanghai Astronomical Observatory, SHAO) เครื่องรับสัญญาณเป็นแบบช่วงความถี่กว้าง (Wide-Band Receiver) รับสัญญาณได้ตั้งแต่ช่วงคลื่นความถี่ 2-14 GHz จะทำให้การสังเกตการณ์ VLBI (Very Long Baseline Interferometry) เพื่องานยีออเดซีมีประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถใช้งานร่วมกับเครือข่ายกล้องวีกอสทั่วโลกเพื่องานรังวัดยีออเดซีและติดตามความเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน
 
     กล้องโทรทรรศน์วิทยุแบบวีกอสนี้ สามารถทำงานรังวัดตำแหน่งที่มีความแม่นยำสูงได้ โดยการรับสัญญาณย่านเอสและเอกซ์ (S-/X-band) จากแหล่งกำเนิดคลื่นวิทยุในอวกาศ พิกัดที่ได้จากการสังเกตการณ์ด้วยเทคนิค VLBI (Very Long Baseline Interferometry) ของกล้องโทรทรรศน์วิทยุสองตัวขึ้นไปในเวลาเดียวกัน จะทำให้ได้พิกัดที่ความถูกต้องสูงมาก แม่นยำถึงระดับ 3-5 มิลลิเมตร ในทุกมิติ ด้วยความแม่นยำนี้จึงสามารถนำไปใช้ตรวจสอบการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกได้ (Tectonic Plate Motion) แล้วยังสามารถประมวลผลลัพธ์ต่อจนได้ตัวแปรต่าง ๆ ที่บ่งบอกการวางตัวของโลกในอวกาศ (Earth Orientation Parametres) ไปจนถึงความเร็วในการหมุนรอบตัวเองของโลก (UT1) ซึ่งถือเป็นผลลัพธ์ที่มีค่ายิ่งของศาสตร์ด้านยีออเดซี และมีความสำคัญต่อวงการวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ กระทั่งการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนของมนุษย์
 
คาดว่าจะติดตั้งแล้วเสร็จ เริ่มใช้งานประมาณปี 2564 และมีแผนติดตั้งกล้องโทรทรรศน์วิทยุ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 13 เมตร ไปอีก 3 จังหวัด ได้แก่ อุบลราชธานี กาญจนบุรี และสงขลา
 
==== '''วีกอสเพื่องานยีออเดซีในประเทศไทย''' ====
        นอกจากงานระดับสากลแล้ว กล้องโทรทรรศน์วิทยุวีกอสที่มีประสิทธภาพด้านงานยีออเดซี จะสามารถเป็นสถานีอ้างอิงให้แก่โครงข่ายหมุดหลักฐานของประเทศไทยได้
 
        ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงข่ายควบคุมทางราบที่รังวัดตำแหน่งด้วยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม GNSS (Global Navigation Satellite System) และโครงข่ายควบคุมทางดิ่งที่ประกอบด้วยหมุดระดับและผิวยีออยด์ TGM2017 โดยวิธีการรังวัดโครงข่ายหมุดควบคุมทั้งราบและดิ่ง ยังมีค่าคลาดเคลื่อนอันเกิดจากแรงโน้มถ่วง การหมุน และความต่างระดับน้ำทะเลในแต่ละพื้นที่ของโลก หากเป็นการสังเกตการณ์วีกอส พิกัดที่ได้จะไม่มีค่าคลาดเคลื่อนดังกล่าว และสามารถใช้หาค่าแก้ค่าคลาดเคลื่อนเหล่านี้ได้ในเวลาเดียวกัน เมื่อมีสถานีวีกอสในประเทศไทย เชื่อมเข้ากับโครงข่ายควบคุมทางตำแหน่งของประเทศ ก็จะสามารถทำการพัฒนาระบบหมุดหลักฐานทั้งทางราบและดิ่งให้มีความถูกต้องมากขึ้น และนำไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยีได้อีกมากมายเช่นกัน
<br />
 
=== ศูนย์บริการข้อมูลดาราศาสตร์วิทยุสำหรับประชาชน ===
สดร. ร่วมกับศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมา จากพระราชดำริ วางแผนการจัดตั้ง ศูนย์บริการข้อมูลดาราศาสตร์วิทยุ บริเวณใกล้เคียงกับหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ ประกอบไปด้วย อาคารบริการข้อมูลแก่ประชาชน และทางเดินแบบจำลองระบบสุริยะ
 
=== กล้องโทรทรรศน์วิทยุวีกอสขนาด ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4013 เมตร ===
กล้องโทรทรรศน์วิทยุวีกอส (VGOS: VLBI Geodetic Observing System) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางจานรับสัญญาณ 13 เมตร สร้างขึ้นภายใต้โครงการแรงดี (RANGD: Radio Astronomical Network and Geodesy for Development) มีต้นแบบและพัฒนามาจากหอดูดาวเซี่ยงไฮ้ หน่วยเฉอชาน (Shanghai Astronomical Observatory, SHAO) เครื่องรับสัญญาณเป็นแบบช่วงความถี่กว้าง (Wide-Band Receiver) รับสัญญาณได้ตั้งแต่ช่วงคลื่นความถี่ 2-14 GHz จะทำให้การสังเกตการณ์ VLBIแบบแทรกสอดระยะไกล (Very Long Baseline Interferometry) เพื่องานยีออเดซีมีประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถใช้งานร่วมกับเครือข่ายกล้องวีกอสทั่วโลกเพื่องานรังวัดยีออเดซีและติดตามความเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน
 
     กล้องโทรทรรศน์วิทยุแบบวีกอสนี้ สามารถทำงานรังวัดตำแหน่งที่มีความแม่นยำสูงได้ โดยการรับสัญญาณย่านเอสและเอกซ์ (S-/X-band) จากแหล่งกำเนิดคลื่นวิทยุในอวกาศ พิกัดที่ได้จากการสังเกตการณ์ด้วยเทคนิค VLBI (Very Long Baseline Interferometry) แทรกสอดระยะไกลของกล้องโทรทรรศน์วิทยุสองตัวขึ้นไปในเวลาเดียวกัน จะทำให้ได้พิกัดที่ความถูกต้องสูงมาก แม่นยำถึงระดับ 3-5 มิลลิเมตร ในทุกมิติ ด้วยความแม่นยำนี้จึงสามารถนำไปใช้ตรวจสอบการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกได้ (Tectonic Plate Motion) แล้วยังสามารถประมวลผลลัพธ์ต่อจนได้ตัวแปรต่าง ๆ ที่บ่งบอกการวางตัวของโลกในอวกาศ (Earth Orientation Parametres) ไปจนถึงความเร็วในการหมุนรอบตัวเองของโลก (UT1) ซึ่งถือเป็นผลลัพธ์ที่มีค่ายิ่งของศาสตร์ด้านยีออเดซี และมีความสำคัญต่อวงการวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ กระทั่งการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนของมนุษย์
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}