ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวเคลียสของเซลล์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8298088 โดย 58.8.227.161ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 6:
 
โครงสร้างหลักของนิวเคลียสคือ [[เยื่อหุ้มนิวเคลียส]] (nuclear envelope) ซึ่งเป็นเยื่อสองชั้นที่หุ้มทั้งออร์แกเนลล์และทำหน้าที่แยกองค์ประกอบภายในออกจาก[[ไซโทพลาซึม]] (cytoplasm) อีกโครงสร้างหนึ่งคือ [[นิวเคลียร์ลามินา]] (nuclear lamina) ซึ่งเป็นโครงสร้างร่างแหภายในนิวเคลียส ทำหน้าที่เป็นโครงร่างค้ำจุน ให้ความแข็งแรงแก่นิวเคลียส คล้าย[[ไซโทสเกลเลตอน]] (cytoskeleton) ภายในเซลล์ เนื่องจากเยื่อหุ้มนิวเคลียสมีลักษณะเป็นเยื่อเลือกผ่านที่โมเลกุลส่วนใหญ่ผ่านทะลุเข้าออกไม่ได้ ดังนั้นเยื่อหุ้มนิวเคลียสจึงต้องมี[[นิวเคลียร์พอร์]] (nuclear pore) หรือช่องที่จะให้สารเคลื่อนผ่านเยื่อ ช่องเหล่านี้ทะลุผ่านเยื่อทั้งสองของเยื่อหุ้มนิวเคลียสให้โมเลกุลขนาดเล็กและ[[ไอออน]]เคลื่อนที่เข้าออกนิวเคลียสได้ การเคลื่อนที่เข้าออกของสารโมเลกุลใหญ่ เช่น โปรตีน ต้องมีการควบคุมและต้องใช้โปรตีนช่วยขนส่งสาร (carrier proteins
 
==โครงสร้าง==
นิวเคลียสเป็น[[ออร์แกเนลล์]]ที่ใหญ่ที่สุดในเซลล์สัตว์<ref name="Lodish">{{cite book | vauthors = Lodish H, Berk A, Matsudaira P, Kaiser CA, Krieger M, Scott MP, Zipursky SL, Darnell J | title = Molecular Cell Biology | publisher = WH Freeman | edition = 5th | year = 2004 | location = New York | isbn = 978-0-7167-2672-2 | url-access = registration | url = https://archive.org/details/studentcompanion0000unse_r7k2 }}</ref>
ในเซลล์[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของนิวเคคลียสอยู่ที่ 6 [[ไมโครเมตร]] (µm) และกินปริมาตร 10% ของเซลล์<ref name="Alberts">{{cite book |last1=Alberts |first1=B |title=Molecular biology of the cell |date=2002 |publisher=Garland Science |isbn=978-0815340720 |page=197 |edition=4th}}</ref> องค์ประกอบภายในนิวเคลียสอยู่ใน[[นิวคลีโอพลาสซึม]] เช่นเดียวกันกับ[[ไซโตพลาสซึม]]ในเซลล์ส่วน่ที่เหลือ องค์ประกอบซึ่งเป็นของเหลวนั้นเรียกว่า "นิวคลีโอซอล" (nucleosol) เช่นเดียวกันกับ[[ไซโตซอล]]ในไซโตพลาสซึม<ref>{{cite journal | vauthors = Clegg JS | title = Properties and metabolism of the aqueous cytoplasm and its boundaries | journal = The American Journal of Physiology | volume = 246 | issue = 2 Pt 2 | pages = R133-51 | date = February 1984 | pmid = 6364846 | doi = 10.1152/ajpregu.1984.246.2.R133 | doi-access=free | authorlink = James S. Clegg }}</ref>
 
ใน[[เซลล์เม็ดเลือดขาว]] ชนิด[[แกรนูโลไซต์]]ส่วนใหญ่มีนิวเคลียสที่[[lobation|แบ่งเป็นพู]] (lobated)
 
==อ้างอิง==
{{reflist}}
 
{{Commonscat|Cell nucleus}}