ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Seenseenseenzaaa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 204:
 
ในปี พ.ศ. 2513 เมื่อโรงเรียนราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชานุเคราะห์ ได้เปิดทำการสอน ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 ท่านผู้หญิงดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา ประธานกรรมการการจัดโรงเรียนราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชานุเคราะห์ และคณะกรรมการจัดโรงเรียน เห็นว่าในปี พ.ศ. 2514 จะมีนักเรียนซึ่งเป็นบุตรผู้ป่วยโรคเรื้อนจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 จะต้องเรียนต่อใน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หากส่งไปเรียนต่อที่อื่นเกรงว่า จะเป็นปมด้อยแก่นักเรียนเหล่านี้ และต้องเดินทางไปเรียนไกลจะไม่ปลอดภัยแก่ตัวนักเรียน ท่านผู้หญิงดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา จึงขอให้กรมวิสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ก่อสร้างโรงเรียนรัฐบาลในมูลนิธิ ราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา เพื่อรองรับนักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 จากโรงเรียนราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชานุเคราะห์อื่น ๆ ในพื้นที่ในขณะนั้นกระทรวงศึกษาธิการ การสร้างโรงเรียน 9 ทิศ เพื่อเฉลิมพระเกียรติและสนองพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติ และสนองพระมหากรุณาธิคุณขออนุมัติแล้วกระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้กรมวิสามัญศึกษาดำเนินการจัดสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษาในส่วนกลางขึ้นบนที่ราชพัสดุด้านทิศตะวันออกของถนนสุขสวัสดิ์ (บริเวณโรงเรียนปัจจุบัน) โดยขอแลกที่ดินของโรงเรียนราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชานุเคราะห์ จำนวน 10 ไร่ กับที่ดินของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 ไร่ เพื่อจัดสร้างโรงเรียนตามที่กรมวิสามัญศึกษาต้องการโดย นายก่อ สวัสดิพาณิชย์ อธิบดีกรมวิสามัญศึกษาเป็นผู้วางศิลาฤกษ์
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
 
{{รายชื่อโรงเรียนที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ}}
{{โรงเรียนมัธยมสมุทรปราการ}}
{{โรงเรียนสพม.6}}
{{เรียงลำดับ|ราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์}}
 
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในจังหวัดสมุทรปราการ]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 6]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2507]]
{{โครงสถานศึกษา}}