ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชวังต้องห้าม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เรื่องจีนๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เรื่องจีนๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 185:
* [[พระที่นั่งเฉียนชิง]] (พระที่นั่งสุทไธสวรรค์) ({{linktext|乾|清|宮}})
* [[พระตำหนักเจียวไถ่]] (พระตำหนักสหภาพ) ({{linktext|交|泰|殿}})
* [[พระที่นั่งคุนหนิง]] (พระที่นั่งโลกาสันติสุข) ({{linktext|坤||}})
 
ทั้งสามองค์มีขนาดเล็กกว่าในเขตพระราชฐานชั้นนอก โดยพระที่นั่งและพระตำหนักในหมู่พระที่นั่งนี้เป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการในสมเด็จพระจักรพรรดิและสมเด็จพระจักรพรรดินี สมเด็จพระจักรพรรดิทรงเป็นสัญลักษณ์ของ[[หยิน-หยาง|หยาง]]และสวรรค์ จึงจะทรงประทับอยู่ในพระที่นั่งเฉียนชิง ส่วนสมเด็จพระจักรพรรดินีทรงเป็นสัญลักษณ์ของ[[หยิน-หยาง|หยิน]]และโลกมนุษย์ จึงจะทรงประทับอยู่ในพระที่นั่งคุนหนิง ในขณะที่ตรงกลางเป็นพระตำหนักเจียวไถ่ ซึ่งเปรียบเสมือนสถานที่ที่[[หยิน-หยาง|หยินและหยาง]]ผสมผสานกันอย่างกลมกลืน<ref name="Yu 75">p. 75, Yu (1984)</ref>
บรรทัด 195:
[[พระที่นั่งเฉียนชิง]] (พระที่นั่งสุทไธสวรรค์) เป็นพระที่นั่งที่มีชายคาสองชั้น อยู่บนแท่นหินอ่อนสีขาวในระดับเดียวกัน เชื่อมต่อกับ[[ประตูเฉียนชิงเหมิน]]ทางด้านใต้โดยเป็นทางเดินยกระดับ ในสมัยราชวงศ์หมิง พระที่นั่งองค์นี้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระจักรพรรดิ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่รัชสมัยของ[[จักรพรรดิยงเจิ้ง|สมเด็จพระจักรพรรดิยงเจิ้ง]]แห่ง[[ราชวงศ์ชิง]]นั้น สมเด็จพระจักรพรรดิเสด็จแปรพระราชฐาน ไปประทับอยู่ที่[[พระตำหนักหยางซิน]] (N) ซึ่งเป็นพระตำหนักองค์เล็กทางฝั่งตะวันตกแทน เนื่องจากทรงเคารพและทรงระลึกถึงความทรงจำที่ทรงมีแด่[[จักรพรรดิคังซี|สมเด็จพระจักรพรรดิคังซี]]<ref name="CCTV2"/> พระที่นั่งเฉียนชิงจึงถูกเปลี่ยนเป็นท้องพระโรงแทน<ref name="Yu 78">p. 78, Yu (1984)</ref> บนเพดานของพระที่นั่งมีหีบห้อยประดับอยู่ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรูปปั้นมังกรขดตัว เหนือพระราชบัลลังก์มีแผ่นป้ายภาษาจีนความว่า "ความยุติธรรมและเกียรติยศ" ({{zh|c={{linktext|正|大|光|明}}|p=zhèngdàguāngmíng}})<ref>p. 51, Yang (2003)</ref>
 
[[พระที่นั่งคุนหนิง]] (พระที่นั่งโลกาสันติสุข) ({{linktext|坤||}}) เป็นพระที่นั่งที่มีชายคาสองชั้น มีมุขกว้างเก้ามุขและมุขลึกสามมุข <!--9 bays wide and 3 bays deep--> ในสมัยราชวงศ์หมิง พระที่นั่งองค์นี้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระจักรพรรดินี ในสมัยราชวงศ์ชิง ส่วนใหญ่ของพระที่นั่งองค์นี้ถูกดัดแปลงเพื่อใช้สำหรับการนมัสการตามความเชื่อใน[[เชมัน]]ตามแนวคิดของผู้ปกครองใหม่ซึ่งเป็นชาวแมนจู นับแต่รัชสมัยของ[[จักรพรรดิยงเจิ้ง|สมเด็จพระจักรพรรดิยงเจิ้ง]] สมเด็จพระจักรพรรดินีก็ทรงแปรพระราชฐานออกจากพระที่นั่งองค์นี้ด้วย อย่างไรก็ตาม ยังมีห้องอยู่สองห้องในพระที่นั่งคุนหนิง ที่ยังถูกเก็บไว้เพื่อให้สมเด็จพระจักรพรรดิทรงใช้ในคืนวันพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส<ref name="Yu 80-83">pp. 80–83, Yu (1984)</ref>
 
ระหว่างกลางของทั้งสองพระที่นั่งคือ [[พระตำหนักเจียวไถ่]] (พระตำหนักสหภาพ) เป็นพระตำหนักทรงสี่เหลี่ยมจตุรัส หลังคาทรงปีระมิด เป็นที่เก็บตราประทับหลวง 25 ตราในสมัยราชวงศ์ชิง รวมถึงสิ่งของที่ใช้ในการพระราชพิธีอื่น ๆ ด้วย<ref name="CCTV3"/>
บรรทัด 206:
 
==== หมู่ตำหนักหกองค์ฝั่งตะวันตก ====
* ตำหนักย่งโช่ว หรือ ตำหนักอายุนิรันดร์ (永寿宫壽宮)
* ตำหนักไท่จี๋ หรือ ตำหนักหลักอันสูงส่งยิ่ง (太殿)
* ตำหนักฉางชุน หรือ ตำหนักวสันตนิรันดร์ ()
* ตำหนักอี้คุน หรือ ตำหนักโลกาสรรเสริญ (翊坤)
* ตำหนักฉู่ชิ่ว หรือ ตำหนักรวมประณีต ()
* ตำหนักเสียนฝู หรือ พระที่นั่งสากลสุข (咸福)
 
==== หมู่ตำหนักหกองค์ฝั่งตะวันออก ====
* ตำหนักจิ่งเหริน หรือ ตำหนักมหากรุณา (景仁)
* ตำหนักเฉิงเฉียน หรือ ตำหนักสวรรค์กรุณา (承乾)
* ตำหนักจงชุ่ย หรือ ตำหนักสุธไธสม ()
* ตำหนักเหยียนสี่ หรือ ตำหนักเจียรสุข (延禧)
* ตำหนักจิ่งหยาง หรือ ตำหนักมหาโอภาส (景阳宫陽宮)
* ตำหนักย่งเหอ หรือ ตำหนักบรรสารนิรันดร์ (永和)
 
<!--
บรรทัด 252:
}}
การออกแบบพระราชวังต้องห้าม จากภาพรวมไปจนถึงรายละเอียดที่เล็กที่สุด ล้วนถูกวางแผนมาอย่างพิถีพิถันเพื่อสะท้อนหลักทางปรัชญาและศาสนา และเหนือสิ่งอื่นใดเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระราชอำนาจของสมเด็จพระจักรพรรดิ มีการตั้งข้อสังเกตการออกแบบสัญลักษณ์บางอย่างประกอบด้วย
* การใช้สีเหลืองเพื่อสื่อถึงองค์ฮ่องเต้ ดังนั้นเกือบทุกหลังคาในพระราชวังต้องห้ามจะปูด้วยกระเบื้องเคลือบสีเหลือง ยกเว้นเพียงสองอาคารคือ หอพระสมุดที่พลับพลาเหวินยวน ({{linktext|文||}}) ซึ่งเป็นสีดำ เพราะสีดำมีส่วนเกี่ยวข้องกับ[[อู่ซิง|ธาตุน้ำ]] เพื่อป้องกันการเกิดอัคคีภัย และที่ที่ประทับขององค์รัชทายาทที่ใช้สีเขียว เพราะเกี่ยวข้องกับ[[อู่ซิง|ธาตุดิน]] เพื่อการเติบโต<ref name="DPM Elements"/>
* พระตำหนักองค์หลักในเขตพระราชฐานชั้นนอกและชั้นในถูกจัดเรียงเป็นกลุ่ม กลุ่มละสามองค์ เป็นรูปทรงของ[[ปากั๋ว|เฉียน]] เป็นตัวแทนของสวรรค์ ส่วนที่ประทับในเขตพระราชฐานชั้นใน ในแต่ละด้านถูกจัดเป็นกลุ่ม กลุ่มละหกองค์ เป็นรูปทรงของ[[ปากั๋ว|คุน]] เป็นตัวแทนของโลกมนุษย์<ref name="CCTV2"/>
* สันหลังคาที่ลาดเอียงของอาคารถูกตกแต่งด้วย[[การตกแต่งหลังคาในวังหลวง|รูปปั้นเรียงกัน]] เริ่มต้นจากชายที่ขี่นกอมตะและตามด้วย[[มังกรจีน|มังกรแห่งองค์จักรพรรดิ]] จำนวนของรูปปั้นเป็นตัวแทนของสถานะอาคาร อาคารองค์รองลงมาอาจจะมีรูปปั้น 3 หรือ 5 ตัว ส่วนพระตำหนักไถ่เหอมีรูปปั้น 10 ตัว ซึ่งเป็นพระตำหนักหลังเดียวในประเทศที่ได้รับพระบรมราชานุญาตจากสมเด็จพระจักรพรรดิในขณะนั้น ผลที่ตามมาคือ รูปปั้นตัวที่ 10 เรียกว่า "''หั่งชือ''" หรือ "อันดับที่สิบ" ({{zh|c={{linktext|行|十}}|p=Hángshí}})<ref name="CCTV3">{{cite video|people=China Central Television, The Palace Museum|date=2005|url=http://www.cctv.com/history/special/C15041/01/index.shtml|title=Gugong: "III. Rites under Heaven "|medium=Documentary|location=China|publisher=CCTV}}</ref> และยังเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของพระราชวังต้องห้ามด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.dpm.org.cn/ |title=Hall of Supreme Harmony |accessdate=2007-07-05 |author=The Palace Museum |language=Chinese |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070701213540/http://www.dpm.org.cn/ |archivedate=1 July 2007 |df=dmy }}</ref>