ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช่อง 9 เอ็มคอต เอชดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nes 2003 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Suphanut2001 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
| logoalt = ตราสัญลักษณ์ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี
| launch = {{เทาเล็ก|ระบบแอนะล็อก ขาวดำ:}}<br/>{{วันเกิด-อายุ|2498|6|24}}<br/>{{เทาเล็ก|ระบบสี แอนะล็อก:}}<br/>{{วันเกิด-อายุ|2520|4|9}}<br/>{{เทาเล็ก|ระบบดิจิทัล:}}<br/>{{วันเกิด-อายุ|2557|4|1}}<br/>{{เทาเล็ก|ระบบดาวเทียมและดิจิทัล:}}<br/>{{วันเกิด-อายุ|2558|12|2}}
| closed date = {{เทาเล็ก|เฉพาะระบบแอนะล็อก:}}<br/>16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ({{อายุปีและวัน|2498|6|24|2561|07|16}})
| picture format = 1080i (16:9 [[โทรทัศน์ความละเอียดสูง|คมชัดสูง]])
| network = [[สถานีโทรทัศน์]]/[[สถานีวิทยุ]]<br/>[[โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย|ช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัล<br/>ประเภทบริการธุรกิจระดับชาติ]]
บรรทัด 20:
| broadcast area = {{ธง|ไทย}} ประเทศไทย
| headquarters = เลขที่ 63/1 ซอยพระราม 9 7 (ทวีมิตร) [[ถนนพระราม 9]]<br/>แขวงห้วยขวาง [[เขตห้วยขวาง]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| former names = '''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม''': {{เทาเล็ก|19 ปี<br/>([[24 มิถุนายน]] 2498 - [[มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2517|2517]])}}<br/>'''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู''': {{เทาเล็ก|6 ปี 10 เดือน<br/>([[มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2513|2513]] - [[9 เมษายน]] 2520)}}<br/>'''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.''': {{เทาเล็ก|25 ปี 7 เดือน<br/>(9 เมษายน 2520 - [[6 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2545|2545]])}}<br/> '''สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์''': {{เทาเล็ก|12 ปี 10 เดือน<br/>(6 พฤศจิกายน 2545 - [[9 กันยายน]] [[พ.ศ. 2558|2558]])}}
| sister names = {{bulleted list
| [[สถานีวิทยุ อสมท]]
บรรทัด 35:
}}
 
'''สถานีโทรทัศน์เอ็มคอตเอชดี''' ({{lang-en|MCOT HD}}; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) หรือ ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ({{lang-en|9 MCOT HD}}) เป็น[[รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย|สถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน]] (Terrestrial Television) [[ที่สุดในประเทศไทย|แห่งแรกของประเทศไทย]] ของ[[อสมท|บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)]] เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2498]] ในระบบ [[วีเอชเอฟ|VHF]] เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2517]] จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด [[สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)|สำนักนายกรัฐมนตรี]] โดยมี[[เทวัญ ลิปตพัลลภ|นายเทวัญ ลิปตพัลลภ]] รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล<ref>[https://spm.thaigov.go.th/FILEROOM/spm-thaigov/DRAWER001/GENERAL//DATA0000/00000675.PDF คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 196/2562 เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งมอบหมายและมอบอำนาจให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี], สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, สืบค้นวันที่ 10 กันยายน 2562</ref><ref>[https://spm.thaigov.go.th/FILEROOM/spm-thaigov/DRAWER001/GENERAL//DATA0000/00000663.PDF คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 165/2562 เรื่อง มอบหมายและมอบอำนาจให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี], สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, สืบค้นวันที่ 1 สิงหาคม 2562</ref> มี[[พลเอก]] [[ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข]] เป็นประธานกรรมการบริษัท และ[[เขมทัตต์ พลเดช|นายเขมทัตต์ พลเดช]]เป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่
 
== ประวัติ ==
เมื่อปี [[พ.ศ. 2492]] [[สรรพสิริ วิรยศิริ]] ผู้สื่อข่าวต่างประเทศของ[[กรมประชาสัมพันธ์|กรมโฆษณาการ]] (กรมประชาสัมพันธ์ในปัจจุบัน) เขียนบทความขึ้นบทหนึ่ง เพื่อแนะนำให้ผู้อ่านรู้จักกับ "[[โทรทัศน์|วิทยุภาพ]]" อันเป็นเทคโนโลยีการสื่อสารชนิดใหม่ของโลก ต่อมา กรมมากรมโฆษณาการ (กรมประชาสัมพันธ์ในปัจจุบัน) ส่งข้าราชการของกรมฯ กลุ่มหนึ่ง ไปศึกษางานวิทยุโทรภาพที่[[สหราชอาณาจักร]] ในราวปี [[พ.ศ. 2493]] เมื่อเล็งเห็นประโยชน์มหาศาลต่อประเทศชาติ กรมประชาสัมพันธ์จึงนำเสนอ "โครงการจัดตั้งวิทยุโทรภาพ" ต่อจอมพล[[แปลก พิบูลสงคราม|ป. พิบูลสงคราม]] [[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น]] แต่เนื่องจากสภาผู้แทนราษฎรส่วนมาก แสดงความไม่เห็นด้วยอย่างรุนแรง เนื่องจากเห็นว่าเป็นการสิ้นเปลืองต่องบประมาณแผ่นดินโดยเปล่าประโยชน์ จึงจำเป็นต้องยุติโครงการดังกล่าวลง
 
หลังจากนั้น [[ประสิทธิ์ ทวีสิน]] ประธานกรรมการบริษัท วิเชียรวิทยุและโทรภาพ จำกัด นำเครื่องส่งวิทยุโทรภาพ 1 เครื่อง พร้อมเครื่องรับจำนวน 4 เครื่อง ซึ่งมีน้ำหนักรวมกว่า 2,000 กิโลกรัม มาทำการทดลองส่งแพร่ภาพใน[[ทำเนียบรัฐบาลไทย|ทำเนียบรัฐบาล]] ให้คณะรัฐมนตรีได้รับชม นับเป็นครั้งแรกในประเทศไทย และยังเปิดฉายให้ประชาชนทั่วไป ทดลองรับชมที่[[ศาลาเฉลิมกรุง]]ด้วย เมื่อวันที่ [[19 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2495]]
 
=== สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม ===
ระหว่างเดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน พ.ศ. 2495 รัฐมนตรีและข้าราชการกลุ่มหนึ่ง ของกรมประชาสัมพันธ์ รวมจำนวน 7 คน ประกอบด้วย พันเอก[[หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)]], พลโทหม่อมหลวง[[หม่อมหลวงขาบ กุญชร|ขาบ กุญชร]], [[ประสงค์ หงสนันทน์]], พลตำรวจเอก[[เผ่า ศรียานนท์]], [[เล็ก สงวนชาติสรไกร]], พลอากาศโท[[มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์|มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์]] และนาวาอากาศเอก[[เลื่อน พงษ์โสภณ]] ดำเนินการระดมทุน ด้วยการเสนอขายหุ้น ต่อกรมประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน 11 ล้านบาท จึงเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐอีก 8 แห่ง เป็นเงิน 9 ล้านบาท รวมทั้งสิ้น 20 ล้านบาท เพื่อเป็นทุนจดทะเบียนจัดตั้ง "[[อสมท|บริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด]]" ({{lang-en|Thai Television Co., Ltd.}} ชื่อย่อ: ท.ท.ท.) ขึ้นเมื่อวันที่10 พฤศจิกายน ของปีดังกล่าว เพื่อเป็นผู้ดำเนินกิจการการส่งสัญญาณโทรทัศน์ในประเทศไทย<ref name="mcot_profile">[http://dtv.mcot.net/mcot_one.php?dateone=1243329758 ประวัติ อ.ส.ม.ท. องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย] จาก[[หน้าเว็บ]] [http://dtv.mcot.net ประวัติและเทคโนโลยีโทรทัศน์ของ บมจ.อสมท] ใน[[เว็บไซต์]] [http://www.mcot.net บมจ.อสมท]</ref>
 
ทั้งนี้ ในระยะก่อนจะดำเนินกิจการส่งโทรทัศน์ [[อสมท|บจก.ไทยโทรทัศน์]] ได้ดำเนินการจัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียง ท.ท.ท. ขึ้นเพื่อระดมทุนทรัพย์ สำหรับใช้ในการบริหารงาน และเพื่อฝึกฝนบุคลากรฝ่ายต่างๆต่าง ๆ พร้อมทั้งเตรียมงานส่วนอื่นด้วย โดยส่งกระจายเสียงจากอาคารที่ทำการ บริเวณ[[แยกคอกวัว]] (ปัจจุบันเป็นอนุสรณ์สถาน[[เหตุการณ์ 14 ตุลา|14 ตุลาฯ]]) จากนั้น เมื่อวันที่ [[6 กันยายน]] [[พ.ศ. 2497]] พลตำรวจเอก [[เผ่า ศรียานนท์]] ประธานกรรมการ [[อสมท|บริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด]] (อธิบดีกรมตำรวจในขณะนั้น) เป็นประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารที่ทำการ'''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4''' ภายในบริเวณ[[วังบางขุนพรหม]] ที่ทำการของ[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]]ในปัจจุบัน (จึงเป็นที่มาของชื่อ ที่ผู้ชมทั่วไปเรียกว่า "'''ช่อง 4 บางขุนพรหม'''") โดยในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ก็เริ่มทดลองส่งแพร่ภาพโทรทัศน์จากห้องส่งของสถานีวิทยุกระจายเสียง ท.ท.ท. ไปพลางก่อน จนกระทั่งก่อสร้างอาคารที่ทำการ พร้อมติดตั้งเครื่องส่งเสร็จสมบูรณ์
 
จอมพล [[แปลก พิบูลสงคราม|ป. พิบูลสงคราม]] นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น เป็นประธานพิธีเปิด '''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4''' ({{lang-en|Thai Television Channel 4}}ชื่อย่อ: ไทย ที.วี. ชื่อเรียกตามอนุสัญญาสากลว่าด้วยวิทยุโทรทัศน์: HS1-TV) ขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทยและทวีปเอเชียบนภาคพื้นแผ่นดินใหญ่ (Asia Continental) ซึ่งเป็นแห่งที่สองของทวีปเอเชียทั้งหมด ถัดจากประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันศุกร์ที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2498]] ซึ่งตรงกับ[[วันชาติ (ประเทศไทย)|วันชาติไทย]]ในสมัยนั้น โดยใช้เครื่องส่งโทรทัศน์ขนาด 10 กิโลวัตต์ แพร่ภาพขาวดำระบบ 525 เส้นต่อภาพ 30 ภาพต่อวินาที เช่นเดียวกับที่ใช้ใน[[สหรัฐ|สหรัฐอเมริกา]]<ref name="mcot_profile"/> ต่อมาในเวลา 19:00 น. วันเดียวกัน จึงเริ่มทดลองออกอากาศอย่างเป็นทางการ เริ่มด้วย [[อารีย์ นักดนตรี|อารีย์ นักดนตรี]] ผู้ประกาศของสถานีฯช่อง 4 บางขุนพรหม รำประกอบเพลงต้นบรเทศ (ในยุคหลังเรียกว่า "[[ฟองน้ำ (วงดนตรี)|ต้นวรเชษฐ์]]"<ref>รายการ[[คุณพระช่วย]] ออกอากาศราวเดือน[[มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2552]] ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี</ref>) ซึ่งใช้เปิดการออกอากาศทั้งสถานีโทรทัศน์และสถานีวิทยุของ [[อสมท|บจก.ไทยโทรทัศน์]] ออกอากาศสดจากห้องส่งโทรทัศน์จากนั้น [[เย็นจิตต์ ระพีพัฒน์|เย็นจิตต์ สัมมาพันธ์]] ผู้ประกาศแจ้งรายการประจำวัน
 
สำหรับคณะผู้ปฏิบัติงานยุคแรก ของ'''ช่อง 4 บางขุนพรหม''' ได้แก่ [[จำนง รังสิกุล]] เป็นผู้อำนวยการคนแรกของสถานีฯ กับทั้งหัวหน้าฝ่ายผลิตรายการ, [[อัมพร พจนพิสุทธิ์]] เป็นหัวหน้าฝ่ายกำกับภาพ, [[สมชาย มาลาเจริญ]] เป็นหัวหน้าฝ่ายช่างกล้อง, [[ธนะ นาคพันธุ์]] เป็นหัวหน้าฝ่ายควบคุมการออกอากาศ, [[สนั่น ชีวะปรีชา|เกรียงไกร (สนั่น) ชีวะปรีชา]] เป็นหัวหน้าฝ่ายเครื่องส่ง, [[ธำรง วรสูตร]] ร่วมกับ [[ฟู ชมชื่น]] เป็นหัวหน้าฝ่ายเครื่องส่งและ[[สายอากาศ|เสาอากาศ]], [[จ้าน ตัณฑโกศัย]] เป็นหัวหน้าฝ่ายกำกับเสียง, [[รักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิช]] เป็นหัวหน้าฝ่ายบริการเครื่องรับโทรทัศน์, [[สรรพสิริ วิรยศิริ]] เป็นหัวหน้าฝ่ายข่าว กับหัวหน้าฝ่ายช่างภาพและแสง
บรรทัด 53:
ส่วนผู้ประกาศยุคแรกเป็นสุภาพสตรี ได้แก่ เย็นจิตต์ สัมมาพันธ์ (ปัจจุบันคือ เย็นจิตต์ รพีพัฒน์ ณ อยุธยา), อารีย์ นักดนตรี (ปัจจุบันคือ อารีย์ จันทร์เกษม), [[ดาเรศร์ ศาตะจันทร์]], นวลละออ ทองเนื้อดี (ปัจจุบันคือ [[นวลละออ เศวตโสภณ]]), [[ชะนะ สาตราภัย]] และ[[ประไพพัฒน์ นิรัตพันธ์]] เป็นต้น ทางผู้ประกาศข่าวเป็นสุภาพบุรุษ ได้แก่ สรรพสิริ วิรยศิริ, [[อาคม มกรานนท์]], สมชาย มาลาเจริญ และ[[บรรจบ จันทิมางกูร]] เป็นต้น
 
ในระยะแรก แพร่ภาพออกอากาศทุกวันอังคาร, วันพฤหัสบดี, วันเสาร์ และวันอาทิตย์ ระหว่างเวลา 18:30 - 23:00 น. ต่อมาเพิ่มวันและเวลาออกอากาศ มากขึ้นตามลำดับ ทั้งนี้ รัฐบาลในสมัยนั้น มักใช้'''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4''' ถ่ายทอดการปราศรัย ของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี, เผยแพร่ผลงานของรัฐบาล, ถ่ายทอดการประชุม[[รัฐสภาไทย|รัฐสภา]] ตลอดจนถ่ายทอดสดงานเฉลิมฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ในปี [[พ.ศ. 2500]] แต่เพียงฝ่ายเดียวเท่านั้น [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] [[รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย|ผู้บัญชาการทหารบก]]ในขณะนั้น จึงสั่งการให้[[กองทัพบกไทย|กองทัพบก]] จัดตั้งสถานีโทรทัศน์ขึ้น อีกแห่งหนึ่งคือ [[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก|สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7]] (ภาพขาวดำ; ปัจจุบันคือ [[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก|สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่องTV5 5HD1]]) ในระหว่างปี พ.ศ.2500 2500-[[พ.ศ. 2501|2501]]
 
ราวต้นเดือนมิถุนายน [[พ.ศ. 2517]] ได้เปลี่ยนระบบการออกอากาศ จากภาพขาวดำเป็นภาพสี ในระบบ 625 เส้น ทาง'''ช่อง 4 บางขุนพรหม''' อย่างสมบูรณ์ โดยได้ย้ายห้องส่งโทรทัศน์ไปที่[[ถนนพระสุเมรุ]] แขวงบางลำพู และราวปี [[พ.ศ. 2519]] ได้หยุดทำการออกอากาศพร้อมกับการเปลี่ยนชื่อเป็น '''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู''' ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน [[พ.ศ. 2513]] ที่ผ่านมา
 
=== สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 ===
==== สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู ====
[[อสมท|บจก.ไทยโทรทัศน์]] เริ่มออกอากาศเป็นภาพสี 625 เส้น ในย่านความถี่ [[วีเอชเอฟ|VHF]] ทางช่องสัญญาณที่ 9 ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2513 โดยแพร่ภาพออกอากาศคู่ขนานกับช่องสัญญาณที่ 4 ในระบบภาพขาวดำ เป็นเวลาประมาณ 4 ปี<ref>หนังสือประวัติศาสตร์ อสมท 59 ปี สื่อไทย (หน้า 24) </ref> กระทั่งราวต้นเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2517 จึงยุติการออกอากาศในระบบภาพขาวดำ 525 เส้น ทางช่องสัญญาณที่ 4 คงไว้เพียงระบบภาพสี มาจนถึงราวปี พ.ศ. 2519 โดยทางช่องสัญญาณที่ 9 อย่างสมบูรณ์ จึงเปลี่ยนชื่อเป็น "'''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9'''" ({{lang-en|Thai Color Television Channel 9}}) พร้อมทั้งย้ายห้องส่งโทรทัศน์ รวมถึงที่ทำการทั้งหมด ไปยังอาคารพาณิชย์ขนาด 5 คูหา ย่านถนนพระสุเมรุ แขวงบางลำพู (ดังที่ผู้ชมทั่วไป มักเรียกว่า "'''ช่อง 9 บางลำพู'''" ในสมัยนั้น) เนื่องจาก[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]] เสนอซื้อที่ดิน, อาคารที่ทำการ [[อสมท|บจก.ไทยโทรทัศน์]] และสิ่งปลูกสร้างทั้งหมด ซึ่งอยู่ภายในบริเวณวังบางขุนพรหม {{อ้างอิง-เส้นใต้|ด้วยมูลค่า 39 ล้านบาท เพื่อแลกกับ[[บ้านมนังคศิลา]] ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2502]]}}
 
==== สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. ====
เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520 คณะรัฐมนตรี ที่นำโดย[[ศาสตราจารย์]] (พิเศษ) [[ธานินทร์ กรัยวิเชียร]] นายกรัฐมนตรี มีมติให้ยุบเลิกกิจการ [[อสมท|บจก.ไทยโทรทัศน์]] ส่งผลให้การดำเนินงานของ'''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9''' สิ้นสุดลงด้วย ต่อมาวันที่ [[26 มีนาคม]] พ.ศ. 2520 มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "[[อสมท|องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย]]" หรือ [[อสมท|อ.ส.ม.ท.]]({{lang-en|The Mass Communication Organisation of Thailand}} ชื่อย่อ: อ.ส.ม.ท.; M.C.O.T.) ให้เป็น[[รัฐวิสาหกิจไทย|รัฐวิสาหกิจ]] ในสังกัด[[สำนักนายกรัฐมนตรี]] โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อดำเนินกิจการสื่อสารมวลชนของรัฐ ให้มีความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นที่เชื่อถือของสาธารณชน โดยรัฐบาลมอบทุนประเดิม 10 ล้านบาท และให้รับโอนกิจการสื่อสารมวลชนของ [[อสมท|บจก.ไทยโทรทัศน์]] คือ '''[[สถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์นเรดิโอ|สถานีวิทยุกระจายเสียง ท.ท.ท.]]''' และ'''[[เอ็มคอตเอชดี|สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9]]''' เพื่อดำเนินกิจการต่อไป<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2520/A/024/1.PDF พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย], ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 94 ตอน 24 ก, 25 มีนาคม 2520, หน้า 1-17.</ref> ตั้งแต่วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2520 ซึ่งเป็นวันสถาปนา อ.ส.ม.ท.<ref name="mcot_profile" /> ส่งผลให้เปลี่ยนชื่อเป็น "'''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.'''" โดยอัตโนมัติ
 
[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด อาคารที่ทำการของ [[อสมท|อ.ส.ม.ท.]] บนเนื้อที่ 14 ไร่ ที่มีห้องส่งโทรทัศน์ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทยขณะนั้น เมื่อเวลา 09:25 น. ของวันอาทิตย์ที่ [[28 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2524]]<ref>[http://www.ohmpps.go.th/documents/BR2524013/pdf/T0010_0010.pdf ข่าวพระราชกรณียกิจข่าวพระราชกรณียกิจ ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2523-กันยายน พ.ศ. 2524 บทที่ 10 หน้า 10] จากเว็บไซต์[[สำนักราชเลขาธิการ]]</ref> ต่อมาระหว่างปี [[พ.ศ.2528 2528]]-[[พ.ศ. 2532|2532]] [[ผู้ช่วยศาสตราจารย์]] [[ดอกเตอร์|ดร.]][[สมเกียรติ อ่อนวิมล]] อาจารย์ประจำ[[คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และพิธีกรรายการ [[ความรู้คือประทีป]] ในขณะนั้น ตอบรับคำเชิญของ ผู้อำนวยการ [[อสมท|อ.ส.ม.ท.]] ในขณะนั้น ให้เข้ามาช่วยปรับปรุงการนำเสนอ[[สำนักข่าวไทย|ข่าว 9 อ.ส.ม.ท.]] ร่วมกับ [[แปซิฟิค อินเตอร์คอมมิวนิเคชัน|บริษัท แปซิฟิค อินเตอร์คอมมิวนิเคชัน จำกัด]] ส่งผลให้ผู้ประกาศข่าวคู่ ซึ่งมีชื่อเสียงที่สุด ของยุคนั้นก็คือ ดร.สมเกียรติ และ[[กรรณิกา ธรรมเกษร]] (ซึ่งทำหน้าที่ ในวันจันทร์ถึงวันศุกร์ ส่วนวันเสาร์และวันอาทิตย์ ดร.สมเกียรติ ประกาศคู่กับ [[อรุณโรจน์ เลี่ยมทอง]])
 
วันที่ [[16 กรกฎาคม]] 2530 [[พ.ศ. 2530]] อสมท|อ.ส.ม.ท.]] ร่วมลงนามในสัญญากับ'''[[ช่อง 3 เอชดี|สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3]]''' และ'''[[เอ็มคอตเอชดี|สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.]]''' เพื่อขยายเครือข่ายกิจการโทรทัศน์ ไปสู่ส่วนภูมิภาค และ[[หน่วยงานภาครัฐ]] จัดสรรคลื่นความถี่ส่ง ด้วยระบบ [[วีเอชเอฟ|VHF]] พร้อมอุปกรณ์การออกอากาศ เพื่อจัดตั้งสถานีเครื่องส่งโทรทัศน์ในการกำกับของ [[อสมท|อ.ส.ม.ท.]] แต่ละแห่ง (ระยะหลังจึงขยายไปสู่ระบบ [[ยูเอชเอฟ|UHF]]) ตั้งแต่เดือนมิถุนายน [[พ.ศ.2531 2531]]-[[ กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2534]] เป็นระยะเวลา 3 ปี จึงทำให้ สถานีโทรทัศน์ในการกำกับของ [[อสมท|อ.ส.ม.ท.]] ทั้งสอง 2 แห่ง สามารถออกอากาศไปได้ทั่วประเทศ
 
ราวปี [[พ.ศ. 2535]] [[แสงชัย สุนทรวัฒน์]] เข้ารับตำแหน่งผู้อำนวยการ [[อสมท|อ.ส.ม.ท.]] ในช่วงที่ [[อสมท|อ.ส.ม.ท.]] ถูกเรียกว่า "แดนสนธยา" เนื่องจากมีกลุ่มอิทธิพลมืด ฝังตัวอยู่ในองค์กร แต่แสงชัยก็สามารถขจัดอิทธิพลมืดเหล่านั้นสำเร็จ รวมถึงสามารถพัฒนา [[อสมท|อ.ส.ม.ท.]] ขึ้นมาเป็นอย่างดี แต่แล้วแสงชัยก็ถูกลอบสังหารด้วยอาวุธปืน จนเสียชีวิต ระหว่างนั่งรถยนต์ เดินทางกลับบ้านพักใน[[เมืองทองธานี]] [[ถนนแจ้งวัฒนะ]] เมื่อวันที่ [[11 เมษายน]] [[พ.ศ. 2539]] จากผลการสอบสวนของตำรวจ ระบุว่า [[อุบล บุญญชโลธร]] อดีตผู้รับสัมปทานจัดรายการ ทาง[[สถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์นเรดิโอ|สถานีวิทยุ อ.ส.ม.ท. ]]ส่วนภูมิภาค จ้างวานให้บุตรเขย คือ [[ทวี พุทธจันทร์]] ส่งมือปืนไปลอบสังหารแสงชัย ต่อมาอุบลถูกลอบสังหาร จนเสียชีวิตบนรถยนต์ก่อนกลับถึงบ้านพัก อย่างเช่นเดียวกับแสงชัย เมื่อปี [[พ.ศ. 2541]]<ref>[https://www.youtube.com/watch?v=Sk4VZgPyZw4 ข่าวดังข้ามเวลา : แสง…แห่งชัย [คลิปเต็มรายการ]] เผยแพร่โดย สำนักข่าวไทย อสมท</ref>
 
=== สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ===
เมื่อปี [[พ.ศ. 2547|พ.ศ. 2545]] [[มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ]] ผู้อำนวยการ[[อสมท|องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย]] หรือ [[อสมท|อ.ส.ม.ท.]] ขณะนั้น มีดำริให้ปรับปรุงการบริหารงานของ'''[[เอ็มคอตเอชดี|สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.ลล''' ให้มีความทันสมัย รวดเร็ว และฉับไว ในด้านการนำเสนอ รายงานข่าวสาร สาระความรู้ และความบันเทิง เพื่อให้ทันต่อเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคโลกาภิวัตน์ และเพื่อขจัดความเป็น "แดนสนธยา" ภายในองค์กรอีกด้วย
 
ในวันที่ [[6 พฤศจิกายน]] ของปีนั้น จึงมีพิธีเปิดตัว "'''[[เอ็มคอตเอชดี|สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์]]'''" โดยมี พันตำรวจโท [[ทักษิณ ชินวัตร|คุณทักษิณ ชินวัตร]] นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น เป็นประธานในพิธี พร้อมทั้งเริ่มออกอากาศตามรูปแบบใหม่ ตั้งแต่เวลา 18:30 น. เป็นต้นไป โดยมีทั้งการเปลี่ยนแปลง ตราสัญลักษณ์ของสถานีฯ พร้อมทั้งปรับปรุงรูปแบบ การเสนอรายการตลอด 24 ชั่วโมง <ref name="mcot_profile"/> เพิ่มเวลานำเสนอข่าว โดยเฉพาะข่าวต้นชั่วโมง และ[[แถบอักษรข่าววิ่ง|แถบตัววิ่งข่าว]] (News Bar) เพิ่มช่วงแมกกาซีนออนทีวี ในข่าวภาคค่ำ ซึ่งนำเสนอข่าวสาร และสาระความรู้ ในประเด็น และการนำเสนอแบบสบายๆสบาย ๆ โดยใช้วิธี[[นิตยสารรายการโทรทัศน์|การนำเสนอแบบ]]นิตยสาร ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนา เป็นรายการ [[ไนน์เอ็นเตอร์เทน|Nine Entertain]] ในเวลาต่อมา รวมถึงเพิ่มบทบาทความสัมพันธ์กับเครือข่ายสำนักข่าวชั้นนำทั่วโลก เช่น [[ซีเอ็นเอ็น|CNN]]/[[ซีเอ็นบีซี|CNBC]]/[[แอสโซซิเอทเต็ด เพรส|เอพีAP]]/[[รอยเตอร์ส|Reuters]]/[[วิทยุเสียงอเมริกา|วีโอเอVOA]] ของสหรัฐอเมริกา, [[บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ|บีบีซีBBC]] ของสหราชอาณาจักร, [[เอ็นเอชเค|NHK]] ของประเทศญี่ปุ่น และ[[ซีซีทีวี|CCTV]] ของ[[ประเทศจีน]] เป็นต้น
 
'''โมเดิร์นไนน์ทีวี''' ดำเนินการผลิตรายการโทรทัศน์ ตลอดจนการแพร่ภาพ และควบคุมการออกอากาศ จากสถานีส่วนกลางใน[[กรุงเทพมหานคร]] ไปยังสถานีเครือข่ายแอนะล็อกส่วนภูมิภาค 32 สถานี สามารถให้บริการครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 79.5% ของประเทศ มีประชากรในขอบเขตการออกอากาศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 96.5% ของประเทศ โดยมีรายการประเภทข่าวสาร สาระความรู้ ความบันเทิง กีฬา และรายการเพื่อสาธารณประโยชน์ รวมทั้งการถ่ายทอดสดต่างๆ โดยเฉพาะรายการประเภทข่าวสาร และสาระความรู้ ในด้านต่างๆ มานำเสนอในช่วงไพรม์ไทม์ที่มีผู้ชมมากที่สุด เพื่อให้ผู้ชม ได้รับข่าวสารและความรู้ ที่เป็นประโยชน์อย่างเท่าเทียมกัน โดยมุ่งหวังจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของผู้ชมชาวไทย
 
มีเหตุการณ์สำคัญ ระหว่าง[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหาร]]เมื่อวันที่ [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] ซึ่งเกี่ยวข้องกับ'''โมเดิร์นไนน์ทีวี''' คือ เมื่อเวลา 22:15 น. พลเอก[[สนธิ บุญยรัตกลิน|นายสนธิ บุญยรัตกลิน]] เป็นหัวหน้า[[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] ยึดอำนาจรัฐบาลรักษาการ ทั้งนี้ [[ทักษิณ ชินวัตร|พันตำรวจโท คุณทักษิณ ชินวัตร]] นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้ออกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ในเขตพื้นที่[[กรุงเทพมหานคร]] ผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่จากสหรัฐอเมริกา มาออกอากาศสดทาง'''โมเดิร์นไนน์ทีวี''' แต่อ่านแถลงการณ์ได้เพียงสาม 3 ฉบับ ก็มีกำลังพลทหารพร้อมอาวุธกลุ่มหนึ่ง บุกเข้าไปถึงห้องควบคุมการออกอากาศ แล้วออกคำสั่งให้หยุดการประกาศทันที จึงทำให้เจ้าหน้าที่สถานีฯ ต้องปฏิบัติตามในที่สุด
 
จากนั้นเมื่อวันที่ [[25 เมษายน]] [[พ.ศ. 2555]] [[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร|คุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]] นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น เป็นประธานในงานครบรอบ 60 ปี การสถาปนา อสมท พร้อมทั้งเริ่มออกอากาศรายการข่าวโทรทัศน์ รูปแบบใหม่ของ[[สำนักข่าวไทย]] ตามดำริของ [[จักรพันธุ์ ยมจินดา]] รองประธานกรรมการ และรักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย การนำเทคโนโลยีวิดีโอวอลล์ ขนาดความยาว 20 เมตร ความกว้าง 3 เมตร มาใช้กับการรายงานข่าวในห้องส่ง ร่วมกับการนำเฮลิคอปเตอร์ มาใช้ประกอบรายงานข่าวนอกสถานที่ เป็นครั้งแรกของสำนักข่าวไทย โดยใช้ชื่อว่า "[[เบิร์ดอายส์นิวส์]]" (Bird Eye's News) รวมทั้งจัดสำรวจความเห็นผู้ชมในชื่อ "[[เอ็มคอตโพลล์]]" (MCOT Poll) นอกจากนี้จะออกแบบตราสัญลักษณ์ ของสำนักข่าวไทยขึ้นใหม่ ให้มีความทันสมัยมากขึ้น<ref>[http://www.mcot.net/cfcustom/cache_page/337145.html “อสมท” ตั้งเป้ารายได้ ปี 55 เติบโตร้อยละ 15 เตรียมเปิดตัวข่าวโฉมใหม่ 25 เม.ย.นี้] โดย[[สำนักข่าวไทย]]</ref> (ทว่าแบบที่จัดทำในยุคของจักรพันธุ์ มิได้นำมาใช้จริงแต่อย่างใด ซึ่งหลังจากนั้นมีการออกแบบใหม่ แล้วจึงนำออกใช้จริงต่อมา)
 
=== สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ===
เมื่อวันพุธที่ [[9 กันยายน]] [[พ.ศ. 2558]] [[ศิวะพร ชมสุวรรณ]] กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เป็นประธานในพิธีเปิดตัว '''ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีMCOT HD''' ที่[[โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์]] ณ ศูนย์การค้า[[เซ็นทรัลเวิลด์]] แขวงปทุมวัน [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] โดยนำเทปบันทึกภาพมาออกอากาศ ระหว่างเวลา 19:00-19:20 น. ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี เพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่ชื่อใหม่ดังกล่าว ซึ่งมีการปรับปรุงอัตลักษณ์รูปแบบใหม่ เพื่อนำมาใช้แทนที่ตราสัญลักษณ์เดิมซึ่งใช้ร่วมกับกิจการในเครือ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) นับแต่ปลายปี พ.ศ. 2545 พร้อมทั้งเพิ่มเติมรายการใหม่ จากผู้ผลิตเนื้อหาหลายแห่งเช่น [[บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)]] ([[เนชั่นทีวี|Nation TV]]), [[บริษัท แบงคอก บิสสิเนส บรอดแคสติ้ง จำกัด|บริษัท สปริง 26 จำกัด]] ([[นาว 26|Spring 26]]) และ[[บริษัท ทรูวิชั่นส์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)]] ([[ทรูวิชันส์|True Visions]]) เป็นต้น<ref>[http://www.tnamcot.com/content/279628 ปรับโฉม ช่อง 9 MCOT HD เปิดโลกกว้าง สร้างความสุข]</ref>
 
== การยุติการออกอากาศในระบบอนาล็อก ==
[[ไฟล์:MCOT digital switch over plate.png|thumb|ภาพที่แสดงหลังยุติการแพร่ภาพระบบอนาล็อก(PAL 576i 16:9)]]ในวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2561 เวลา 18:30 น. ได้ยุติการออกอากาศโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบแอนะล็อกจากสถานีเครื่องส่งโทรทัศน์ 13 สถานี เป็นลำดับแรก โดยมีผลกระทบต่อผู้ชมในพื้นที่ของ[[จังหวัดแม่ฮ่องสอน]] (รวมไปถึงที่[[อำเภอแม่สะเรียง]]) [[จังหวัดน่าน]] [[จังหวัดตาก]] [[จังหวัดเพชรบูรณ์]] [[จังหวัดเลย]] [[จังหวัดสกลนคร]] [[จังหวัดมุกดาหาร]] [[จังหวัดสระแก้ว]] [[จังหวัดชุมพร]] [[จังหวัดระนอง]] (รวมไปถึงอำเภอ[[ตะกั่วป่า]]) [[จังหวัดสตูล]] และในวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 เวลา 18:30 น. ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีMCOT HD ได้ทำการยุติการแพร่ภาพในระบบอนาล็อกครบทุกพื้นที่ในประเทศ โดยยุติการแพร่ภาพจากสถานีเครื่องส่งโทรทัศน์ที่เหลืออีก 23 สถานี ซึ่งรวมไปถึงสถานีใน[[กรุงเทพมหานคร]]ซึ่งยุติการออกอากาศเป็นลำดับสุดท้าย เนื่องจากโครงข่ายการออกอากาศโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัลของบมจ.อสมท ให้บริการครอบคลุมทั่วประเทศแล้ว และเหลือแต่เพียงแค่การออกอากาศในระบบดิจิทัล ทางช่องหมายเลข 30 ([[โทรทัศน์ความละเอียดสูง|ภาพความคมชัดสูง]]) แต่เพียงอย่างเดียว<ref>[https://www.youtube.com/watch?v=qnk2XMCFSzQ ช่อง 9 MCOT HD เปลี่ยนผ่านจากระบบแอนะล็อกสู่ระบบดิจิตอล - Youtube], 16 กรกฎาคม 2561</ref>
 
== การเปิดและปิดสถานี ==
=== ภาพราตรีสวัสดิ์ ===
 
* พ.ศ. 2520 - 2545 ภาพ[[พระพุทธรูป]]พร้อม[[เสียง]][[สวดมนต์]] ไม่มี[[โลโก้]] มีแต่ตัวหนังสือคำว่า"ราตรีสวัสดิ์"
* พ.ศ. 2545 เปิด 24 ชม.
 
=== ภาพเปิดสถานี ===
 
* พ.ศ. 2520 - พ.ศ. 2545 โลโก้ช่อง 9 มักปรากฏอยู่ด้านบน ด้านล่างเขียนตัวหนังสือสีขาวเขียนว่า "สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท."
 
=== ภาพทดสอบ ===
 
* พ.ศ. 2520 - พ.ศ. 2533 ภาพทดสอบ จอ[[ฟ้า]]
* พ.ศ. 2533 - พ.ศ. 2537 ภาพทดสอบ [[คัลเลอร์บาร์]]
* พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2545 ภาพทดสอบ [[พีเอ็ม 5544]]
 
==อัตลักษณ์==
=== แบบทั่วไป ===
 
* พ.ศ. 2519 อัตลักษณ์ช่อง 9 ลักษณะจะเป็นโครงเส้นสีขาว และแสดงกำกับชื่อองศ์กรว่า อ.ส.ม.ท. จะแสดงบนหน้าจอ 30 วินาที
* พ.ศ. 2527 โลโก้ช่อง 9 เหมือนกับรุ่น 2519
* พ.ศ. 2532 อัตลักษณ์ช่อง 9 ลักษณะจะเป็นแบบสีความละเอืยด 16 สี ตัวอักษรกำกับชื่อสีชมพู
* พ.ศ. 2534 อัตลักษณ์ช่อง 9 ลักษณะจะเป็นแบบสีความละเอืยด 16 สี
 
=== 24 มิถุนายน พ.ศ.2498 - 2498–2519 ===
'''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม''' มีอัตลักษณ์เป็นภาพ "[[วิชชุประภาเทวี]]" หมายถึง [[เทวดา]][[ผู้หญิง]] ที่เป็น[[เทพเจ้า]]หรือ[[นางพญา]][[นางพญาแห่งสายฟ้า|แห่ง]][[สายฟ้า]] ประดับด้วย[[ลายเมฆ]] และสายฟ้า อยู่ภายใน[[รูปวงกลม]] ที่ออกแบบโดย [[กรมศิลปากร]] [[กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)|กระทรวงวัฒนธรรม]] (ในขณะนั้น) และได้ออกอากาศ[[ภาพขาวดำ|ภาพ]][[สีขาวดำ|ขาวดำ]] เปลี่ยนเป็น[[ภาพสี|ภาพ]][[สี]] ในระบบ [[วีเอชเอฟ|VHF]] เมื่อราวต้นเดือนมิถุนายน [[พ.ศ. 2517]]
 
ต่อมาสถานีฯ ได้ยกเลิกการใช้งานอัตลักษณ์นี้เมื่อปี [[พ.ศ. 2519]] เพราะมีการใช้อัตลักษณ์ใหม่ให้สอดคล้องกับการที่ได้เปลี่ยนแปลงมาออกอากาศในภาพสีระบบ ระบบ[[วีเอชเอฟ|VHF]] ทางช่อง 9 อย่างเต็มรูปแบบแล้ว เมื่อวันที่ [[1 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2513]]<ref>หนังสือประวัติศาสตร์ อสมท 59 ปี สื่อไทย (หน้า 31)</ref>
 
<gallery>
บรรทัด 121:
</gallery>
 
=== 1 มิถุนายน พ.ศ.2513 - 2513–8 เมษายน พ.ศ. 2520 ===
'''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู''' มีอัตลักษณ์เป็น[[กรอบรูปภาพ|รูปกรอบ]][[จอโทรทัศน์|จอ]][[โทรทัศน์]]ภายในเป็นรูป[[คลื่นกระจายสัญญาณ]] โดยทางซ้ายมีสีที่[[การกระจายสี|กระจาย]]อยู่สามสี คือ [[สีแดง]] [[สีเขียว|เขียว]] [[สีน้ำเงิน|น้ำเงิน]] และตัวเลข 9 [[สีดำ]] อยู่ภายในวงกลม[[สีเหลือง]] ซึ่งอยู่ทางขวาสุด และเลิกใช้งานเมื่อปี [[พ.ศ. 2526]] หลังจากที่สถานีฯ กลายมาเป็นหน่วยงานของ อ.ส.ม.ท. อย่างเรียบร้อยแล้ว เพราะมีการเปลี่ยนอัตลักษณ์ใหม่ในเวลาต่อมา เมื่อวันที่ [[9 เมษายน]] [[พ.ศ. 2520]]
 
<gallery>
บรรทัด 129:
</gallery>
 
=== 9 เมษายน พ.ศ.2520 - 2520–6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545===
'''สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.''' มีอัตลักษณ์เป็นรูปกรอบจอโทรทัศน์ ภายในแบ่งเป็น[[แถบเส้น|แถบ]][[เส้นโค้ง]]สามแถบ มีสาม[[แม่สี]]แสง คือ แดง เขียว น้ำเงิน และตัวเลข 9 สีดำ ประทับอยู่ใจกลางอัตลักษณ์ ทั้งหมดเดินเส้นด้วย[[สีขาว]] และมีเส้นขอบสีดำอยู่ภายนอกสุด ส่วนล่างมี[[อักษรย่อ|อักษรชื่อย่อ]] "อ.ส.ม.ท." กำกับไว้ และเลิกใช้งานเมื่อวันที่ [[116 สิงหาคม]]พฤศจิกายน [[พ.ศ. 2547]]2545 หลังได้ย้ายมาที่อัตลักษณ์เป็น "'''สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์'''" โดยใช้ตั้งแต่วันที่ [[6 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2545]]
 
<gallery>
บรรทัด 138:
</gallery>
 
=== 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2545 - 2545–9 กันยายน พ.ศ. 2558 ===
'''สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์''' มีอัตลักษณ์เป็นรูปวงกลม มีเส้น[[สีเทาเงิน]]หรือ[[สีเทา]]ตัดกัน คล้าย[[เส้นรอบรูป|เส้น]][[เส้นรอบโลก|รอบ]][[เส้นโลก|โลก]] อยู่ทางซ้าย ทางขวามีตัวเลข 9 [[สีม่วง]]ซ่อนอยู่ ส่วนบนมีเส้นโค้ง สีเทาเงินหรือสีเทา ลักษณะโดยรวมคล้ายดวงตา ส่วนล่างกำกับด้วยอักษรชื่อย่อ "MCOT" (ใช้เมื่อปี [[พ.ศ. 2545]] และ [[พ.ศ. 2556|2556]]-[[พ.ศ. 2557|2557]]) หรือ "อสมท" (ใช้ระหว่างปี [[พ.ศ.2546 2546]]-[[พ.ศ. 2555|2555]]) [[สีส้ม]]เดินเส้นขอบสีเทา ซึ่งใช้อัตลักษณ์ดังกล่าวนี้ เป็นหน่วยงานแรก ก่อนจะมีการแปรรูปกิจการ "[[องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย]]" เป็น "บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)" ในปีถัดมา
 
ส่วนปี [[พ.ศ. 2556]] จนถึงวันที่- [[30 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2557]] เป็นการแสดงอัตลักษณ์ ที่มุมล่างทางขวาของจอโทรทัศน์ จะเปลี่ยนสีของเส้นที่ตัดกันทางซ้าย และเส้นโค้งในส่วนบนของอัตลักษณ์ (ซึ่งเดิมเป็นสีเทา) ไปตามสีประจำวันในสัปดาห์ (รูปแบบเดียวกับ [[แชนแนลวี]][[แชนแนลวีไทยแลนด์|ไทยแลนด์]]) โดยเฉพาะใน[[วันธรรมสวนะ]] จะแสดงที่มุมบนทางขวาของจอโทรทัศน์ เนื่องจากทำการเพิ่มภาพ[[พระพุทธรูป]][[สีทอง]]อยู่เหนืออัตลักษณ์ และภาพ[[ดอกบัว]]สีขาวซ้อนหลังอัตลักษณ์ และแสดงสัญลักษณ์ใน[[วันสำคัญของไทย|วันสำคัญ]] เช่น [[วันขึ้นปีใหม่]] [[วันตรุษจีน]] [[วันสงกรานต์]] [[วันแรงงาน]] [[วันพืชมงคล]] เป็่นต้น
 
ต่อมาเมื่อวันที่ [[9 กันยายน]] [[พ.ศ. 2558]] สถานีฯ ได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น "'''สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีMCOT HD'''" อย่างไรก็ตาม ยังคงใช้ตราสัญลักษณ์ดังกล่าวอยู่ที่คู่ขนานกับตราสัญลักษณ์ใหม่ เช่น บนหน้าไมโครโฟนข่าวของสำนักข่าวไทย สถานีวิทยุกระจายเสียง และบริษัทมหาชนจำกัดขององค์กรสื่อสารมวลชน รวมถึงในการโฆษณาบางเวลาของสถานีฯ และอัตลักษณ์ที่มีลักษณะตัวอักษร "[[O]]" สำหรับดวงตาที่ไม่มี[[คิ้ว]] ในช่อง[[เอ็มคอตแฟมิลี]] โดยใช้ตั้งแต่เดือน[[มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2557]] จนถึงวันที่- [[31 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2560]] อีกด้วย
 
<gallery>
บรรทัด 156:
</gallery>
 
=== 1 มีนาคม–มีนาคม - 25 เมษายน พ.ศ. 2555 ''(อัตลักษณ์ที่มิได้ใช้จริง)'' ===
ทั้งนี้ เมื่อวันที่ [[1 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2555]] บมจ.อสมท แถลงข่าวว่าจะเปลี่ยนแปลงตราสัญลักษณ์ ที่ใช้กับการนำเสนอ[[ข่าวโทรทัศน์|ข่าวทางโทรทัศน์]]ของ[[สำนักข่าวไทย]] โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน เป็นต้นไป ภายใต้แนวคิดดังนี้
* เส้นที่วิ่งรอบจุดศูนย์กลาง แสดงถึงเนื้อหาที่ครอบคลุม[[ทั่วโลก]] การเดินทางรอบโลกอย่างรวดเร็ว ภายใต้[[เทคโนโลยี]][[อินเทอร์เน็ต]] ที่เข้าไป[[ความสัมพันธ์|สัมพันธ์]] ตั้งแต่[[เหตุการณ์ปัจจุบัน|เหตุการณ์]]ที่เกิดขึ้นรอบโลก ไปจนถึงใน[[ชีวิตประจำวัน]] และ[[ความสนใจ]]ของแต่ละบุคคล
** ภาพที่นำมาใช้กับเส้นรอบโลก เป็นได้ทั้งภาพ[[จักรวาล]] [[ท้องฟ้า]] [[เมือง]] [[ธรรมชาติ]] [[สัตว์]][[สัตว์ป่า|ป่า]] [[ใต้ทะเลลึก]] [[เซลล์อะตอม]] หรือแม้แต่ หน่วยที่เล็กที่สุดใน[[ร่างกาย]]
บรรทัด 166:
อนึ่ง สำนักข่าวไทยมิได้นำตราสัญลักษณ์นี้มาใช้จริง เนื่องจากมีกระแสโจมตีโดยฝ่ายตรงข้ามทาง[[การเมือง]]และ[[ประชาชน]]บางกลุ่ม
 
=== 1 เมษายน พ.ศ.2557 - 2557–ปัจจุบัน ''(อัตลักษณ์สำหรับการออกอากาศโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน)'' ===
หลังจากที่[[บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)]] ได้สิทธิดำเนินการช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ ([[โทรทัศน์ความละเอียดสูง|ภาพความละเอียดสูง]]) ทางช่องหมายเลข 30 ตามที่[[คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ]] (กสทช.) อนุญาตให้[[อุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ]] (มักซ์#3) ร่วมกับ [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย]] (มักซ์#1), [[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก]] (มักซ์#2 และ #5) และ[[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส]] (มักซ์#4) จัดสรรคลื่นความถี่[[ยูเอชเอฟ]]สำหรับออกอากาศ โดยระยะแรกสุด คือระหว่างวันที่ [[1 เมษายน]] ถึงวันที่ [[19 มิถุนายน]] พ.ศ. 2557 เป็นการทดลองออกอากาศ ซึ่งในวันที่ [[1 เมษายน]] เวลา 00.00 น. ถึงประมาณ 05.30 น. มีการ[[ภาพทดสอบ|ทดสอบภาพ]]ด้วยแถบสีพร้อมเสียงบี๊พ และแสดงตัวอักษรชื่อช่อง "'''MCOT HD'''" สีเทาเงินโปร่งแสง ปรับเอนเฉพาะอักษร HD อยู่ที่มุมขวาบนของจอโทรทัศน์ และเริ่มทดสอบการออกอากาศคู่ขนาน ตั้งแต่เวลา 05.30 น. ถึงวันที่ [[20 มิถุนายน]] ปีเดียวกัน จากนั้นจึงมีการเปลี่ยนสัดส่วนภาพที่ออกอากาศในระบบแอนะล็อกจาก 4:3 เป็น 16:9 และในระบบดิจิทัล มีการแสดงสัญลักษณ์เหมือนในระบบแอนะล็อก แต่มีคำว่า "'''MCOT HD'''" สีเทาเงินและคำว่า "HD" เป็นตัวเอน อยู่ใต้สัญลักษณ์ของ'''โมเดิร์นไนน์ทีวี''' และยังไม่มีการออกอากาศแถบข้อมูลจาก[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] ในระบบดิจิทัล จนถึงวันที่ [[15 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2558]]
 
หลังจากปี [[พ.ศ. 2557]] เป็นการแสดงสัญลักษณ์บนหน้าจอโทรทัศน์ของทั้งสองช่องพร้อมกันดังกล่าว จึงวางตราสัญลักษณ์ของ'''โมเดิร์นไนน์ทีวี''' ไว้เป็นหลักที่มุมขวาล่าง (ตั้งแต่วันที่ [[4 ธันวาคม]] เวลา 18.15 น. ทำการย้ายขึ้นไปอยู่ที่มุมขวาบนแทน) โดยถัดลงไปเป็นโดเมนเนมของเว็บไซต์ [http://www.mcot.net www.mcot.net] [[สีขาว]] และสัญลักษณ์ตัวอักษร '''MCOT HD''' ตามรูปแบบเดิม ถัดลงมาอีกชั้นหนึ่ง จากนั้น ตั้งแต่วันที่ [[25 ธันวาคม]] จึงปรับรูปแบบอีกครั้ง โดยใช้ตราสัญลักษณ์ของ'''โมเดิร์นไนน์ทีวี''' วางเป็นหลักที่ตรงกลาง โดยส่วนล่างถัดจากตัวอักษร MCOT สีส้มตามรูปแบบเดิม วางตัวอักษร HD สีเทาเงินอ่อนปรับเอน และสัญลักษณ์ (ยกเว้นข้อความ) สามารถเคลื่อนไหวได้ และในช่องสัญญาณระบบแอนะล็อก เริ่มต้นออกอากาศสัญญาณภาพจาก'''ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีMCOT HD''' อย่างเต็มที่ ไม่ใช่เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งเหมือนในช่วงก่อนหน้า หลังจากนั้นจึงมีการทยอยปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ต่างๆ ภายในสถานีฯ ให้ออกอากาศด้วยความคมชัดสูงอย่างเต็มที่ยิ่งขึ้น
 
<gallery>
บรรทัด 175:
</gallery>
 
=== 9 กันยายน พ.ศ.2558 - 2558–ปัจจุบัน ===
'''สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีMCOT''' มีอัตลักษณ์ซึ่งปรับปรุงมาจากรูปแบบพื้นฐานของอัตลักษณ์ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) (ไม่รวมตัวอักษร MCOT หรือ อสมท ที่กำกับอยู่ส่วนล่าง) โดย อสมท มอบหมายให้[[บริษัท โตโมแกรม สตูดิโอ จำกัด]] เป็นผู้ออกแบบอัตลักษณ์ โดยมีส่วนแตกต่างที่สำคัญคือ นำเส้นโค้งส่วนบนออกไป เหลือแต่เพียงรูปวงกลมคล้ายลูกโลก, ลดลักษณะ[[ปริภูมิสามมิติ|สามมิติ]]ลงเป็นเพียง[[ปริภูมิสองมิติ|สองมิติ]], เปลี่ยนการเดินเส้นที่มุมล่างซ้าย เป็นรูปแบบใหม่ด้วยเส้นที่บางลง, กำหนด[[เส้นร่าง]]เป็น[[สีม่วงอ่อน]]ทั้งหมด และพื้นหลังเป็นสีขาว สำหรับตัวอักษรชื่อช่อง '''MCOT HD''' เปลี่ยนไปใช้แบบอักษรใหม่ โดยแบ่งการกำหนดสี ออกเป็นสองส่วนคือ MCOT เป็นสีม่วงอ่อน (เช่นเดียวกับตัวอัตลักษณ์) และ HD เป็นสีเทา ภาพรวมทั้งหมดเป็น[[ความทึบแสง|ทึบแสง]] ทั้งนี้อัตลักษณ์ดังกล่าว บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) นำไปใช้กับการออกอากาศโดยคู่ขนาน ทั้งระบบแอนะล็อกทาง'''ช่อง 9''' และระบบดิจิทัลทางช่อง 30{{อ้างอิง}}
 
ต่อมาเมื่อค่ำวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] [[การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|เสด็จสวรรคต]] อัตลักษณ์ได้ปรับสีกลายเป็นสีขาวดำเพื่อถวายความอาลัยตามสถานีโทรทัศน์ทุกช่องในประเทศไปจนถึงวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2560 และปรับสีเป็นสีขาวดำอีกครั้งเนื่องในโอกาส[[พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] เมื่อเที่ยงคืนวันที่ 1 ตุลาคม ไปจนถึงหลังจบ[[ข่าวในพระราชสำนัก]]ในช่วง[[ข่าวค่ำ สำนักข่าวไทย|ข่าวค่ำ]] ของวันที่ 19 ตุลาคม ปีเดียวกัน สืบอันเนื่องมาจาก[[คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ]] (กสทช.) สั่งให้พักการออกอากาศเป็นระยะเวลา 30 วัน ([[13 ตุลาคม]] - [[12 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2559]]) แต่ในช่วงวันที่ 20 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ได้มีการปรับอัตลักษณ์เป็นรูปสีทองเพื่อแสดงความจงรักภักดี สำหรับวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 จนถึงวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2560 และอีกครั้งเมื่อวันที่ 13 ถึง 29 ตุลาคม ปีเดียวกัน ก่อนเข้าสู่ผังรายการได้ตามปกติ มุมบนทางขวาของจอโทรทัศน์ อาจมีรายการเกี่ยวกับการยกระดับคุณภาพชีวิต การพัฒนาประเทศ การสนับสนุนประชาชนให้เข้าสู่โลกแห่งเทคโนโลยี ให้ผู้รับใบอนุญาตพิจารณากำหนดเพิ่มเติมอย่างเหมาะสมตามกำหนดไว้
 
เมื่อวันที่ [[1 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2560]] มีอัตลักษณ์รูปแบบสามมิติที่คล้ายกับโลโก้ปัจจุบันอย่างเช่นเดิม พร้อมปรับขนาดอัตลักษณ์บนหน้าจอให้ใหญ่และโดดเด่นขึ้น ส่วนตั้งแต่วันที่ [[1 พฤศจิกายน]] เป็นต้นไป ได้เป็นอัตลักษณ์ที่มีลักษณะรูปโลกในรูปแบบสามมิติไปเช่นเดียวกัน
 
ในช่วงปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 มีการปรับปรุงอัตลักษณ์บนหน้าจอให้โดดเด่นมากขึ้น โดยนำรูปแบบของสถานีโทรทัศน์ท้องถิ่นของสหรัฐอเมริกามาปรับใช้ และกลับมาปรากฏโดเมนเนมเว็บไซต์ของ อสมท อีกครั้ง หลังจากยุติการแสดงไปในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2558
 
<gallery>