ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พญาสัตบรรณ"

เพิ่มส่วนดูเพิ่มและลิงค์เชื่อมบทความ
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ลักษณะ: เคาะวรรค
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มส่วนดูเพิ่มและลิงค์เชื่อมบทความ
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 31:
 
พญาสัตบรรณเป็นพืชที่มีฤทธิ์ทาง[[อัลลีโลพาที]] สารสกัดจากใบสามารถยับยั้งการเจริญของ[[คะน้า]]ได้<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์ สุวิทย์ เฑียรทอง เนาวรัตน์ ประดับเพ็ชร์ สิริวรรณ สมิทธิอาภรณ์ และวริสรา ปลื้มฤดี. 2553. ผลของสารสกัดจากพืชบางชนิดต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของคะน้า. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48. 3-5 ก.พ. 2553 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หน้า 412-421</ref> สารสกัดจากเปลือกลำต้นสามารถยับยั้งการเจริญของ[[ข้าว]] [[ข้าวโพด]] คะน้า [[ถั่วเขียว]]ผิวดำ ถั่วเขียวผิวมันได้<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์. 2554. ผลของแอลลีโลพาธีของพืชสมุนไพร 6 ชนิดต่อการงอกและการเจริญเติบโตของถั่วเขียวผิวดำ. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 49 1-4 ก.พ. 2554 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หน้า 419-428</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด]]
 
== อ้างอิง ==
11,721

การแก้ไข