ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ต่อมลูกหมาก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 106:
 
==หน้าที่==
===ตอบสนองทางเพศชาย===
{{หลัก|การนวดต่อมลูกหมาก}}
 
ในระหว่างการน้ำอสุจิในผู้ชาย ตัวอสุจิจะถูกส่งต่อมาจาก[[หลอดนำอสุจิ]]เข้าสู่ท่อปัสสาวะผ่านท่อฉีดอสุจิ ซึ่งวางจัวอยู่ภายในต่อมลูกหมาก<ref name=Ganongs2019 /> โดย[[การหลั่งน้ำอสุจิ]]เป็นการขับน้ำอสุจิออกทางท่อปัสสาวะ<ref name=Ganongs2019 /> ซึ่งน้ำอสุจิจะเข้าสู่ท่อปัสสาวะหลังจากการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบของหลอดนำอสุจิและถุงน้ำอสุจิ อันเกิดมาจากการกระตุ้นส่วนมากอยู่ที่[[หัวองคชาต]] การกระตุ้นจะส่งสัญญาณผ่านทาง[[ประสาทอวัยวะเพศภายนอกใน]]ไปยังกระดูกสันหลังส่วนเอวด้านบน และสัญญาณประสาทที่ทำให้เกิดการหดตัวจะผ่านมาทาง[[ประสาทไฮโปแกสทริก]]<ref name=Ganongs2019 /> หลังจากน้ำอสุจิเข้าสู่ท่อปัสสาวะแล้ว น้ำอสุจิจะพุ่งออกมาโดยการหดตัวของ[[กล้ามเนื้อบัลโบคาเวอร์โนซุส]]<ref name=Ganongs2019>{{Cite book|title=Ganong's review of medical physiology|author1=Barrett, Kim E.|others=Barman, Susan M.,, Brooks, Heddwen L.,, Yuan, Jason X.-J.|isbn=9781260122404|edition=26th|location=New York|oclc=1076268769|year=2019|pp=411,415}}</ref>
 
ในผู้ชายบางคนอาจบรรลุ[[ความเสียวสุดยอดทางเพศ]]ได้จากการกระตุ้นต่อมลูกหมากเพียงอย่างเดียว เช่น การนวดต่อมลูกหมาก หรือ [[การร่วมเพศทางทวารหนัก]]<ref name="Rosenthal">{{cite book |first=Martha |last= Rosenthal| title = Human Sexuality: From Cells to Society | publisher =[[Cengage Learning]]|year = 2012|pages=133–135|accessdate = September 17, 2012| isbn = 978-0618755714|url =https://books.google.com/books?id=d58z5hgQ2gsC&pg=PT153}}</ref><ref name="Answer">{{cite book|title=The Orgasm Answer Guide|isbn = 978-0-8018-9396-4|publisher=JHU Press|year=2009|pages=108–109|accessdate=6 November 2011|url=https://books.google.com/books?id=Kkts3AX9QVAC&pg=PA108|author1=Komisaruk, Barry R. |author2=Whipple, Beverly |author3=Nasserzadeh, Sara |author4=Beyer-Flores, Carlos |lastauthoramp=yes }}</ref>
 
===สิ่งคัดหลั่ง===
สิ่งคัดหลั่งของต่อมลูกหมากในมนุษย์ มีโปรตีนเป็นส่วนประกอบน้อยกว่าร้อยละ 1{{citation needed|date=ตุลาคม พ.ศ. 2562}} และมีความเป็นกรดเล็กน้อย<ref name="Grays2016" /> สิ่งคัดหลั่งประกอบด้วยเอนไซม์[[โปรทีเอส]] เอนไซม์[[โพรสตาติกแอซิดฟอสเฟเทส]] เอนไซม์[[ไฟบริโนซิน]] และ[[สารก่อภูมิต้านทานจำเพาะต่อมลูกหมาก]]<ref name="Grays2016" /> นอกจากนี้ยังมี[[สังกะสี]]อยู่ด้วย<ref name="Grays2016" /> โดยมีความเข้มข้น 500–1,000 เท่าของความเข้มข้นสังกะสีในเลือด{{citation needed|date=ตุลาคม พ.ศ. 2562}}
 
==ลักษณะสำคัญด้านการรักษา==
 
== อ้างอิง ==