ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ต่อมลูกหมาก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 95:
{{ข้อมูลเพิ่มเติม|ชีวสารสนเทศ}}
ยีนเข้ารหัสโปรตีนประมาณ 20,000 ชนิดแสดงอยู่ในเซลล์ของมนุษย์ และเกือบร้อยละ 75 ของยีนเหล่านี้พบแสดงอยู่ในต่อมลูกหมากปกติ<ref>{{Cite web|url=https://www.proteinatlas.org/humanproteome/prostate|title=The human proteome in prostate - The Human Protein Atlas|website=www.proteinatlas.org|access-date=2017-09-26}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Uhlén|first=Mathias|last2=Fagerberg|first2=Linn|last3=Hallström|first3=Björn M.|last4=Lindskog|first4=Cecilia|last5=Oksvold|first5=Per|last6=Mardinoglu|first6=Adil|last7=Sivertsson|first7=Åsa|last8=Kampf|first8=Caroline|last9=Sjöstedt|first9=Evelina|date=2015-01-23|title=Tissue-based map of the human proteome|journal=Science|volume=347|issue=6220|pages=1260419|doi=10.1126/science.1260419|issn=0036-8075|pmid=25613900}}</ref> ยีนเหล่านี้ประมาณ 150 ตัวมีการแสดงออกอย่างจำเพาะมากกว่าในต่อมลูกหมาก โดยมียีนประมาณ 20 ตัวที่มีความจำเพาะสูงในต่อมลูกหมาก<ref>{{Cite journal|last=O'Hurley|first=Gillian|last2=Busch|first2=Christer|last3=Fagerberg|first3=Linn|last4=Hallström|first4=Björn M.|last5=Stadler|first5=Charlotte|last6=Tolf|first6=Anna|last7=Lundberg|first7=Emma|last8=Schwenk|first8=Jochen M.|last9=Jirström|first9=Karin|date=2015-08-03|title=Analysis of the Human Prostate-Specific Proteome Defined by Transcriptomics and Antibody-Based Profiling Identifies TMEM79 and ACOXL as Two Putative, Diagnostic Markers in Prostate Cancer|journal=PLOS ONE|volume=10|issue=8|pages=e0133449|doi=10.1371/journal.pone.0133449|pmid=26237329|pmc=4523174|issn=1932-6203|bibcode=2015PLoSO..1033449O}}</ref> โปรตีนจำเพาะที่เกี่ยวข้องจะถูกแสดงในเซลล์ต่อมและเซลล์หลั่งของต่อมลูกหมาก และมีหน้าที่สำคัญต่อลักษณะของ[[น้ำอสุจิ]] โปรตีนจำเพาะของต่อมลูกหมากบางชนิดเป็น[[เอนไซม์]] เช่น [[สารก่อภูมิต้านทานจำเพาะต่อมลูกหมาก|สารก่อภูมิต้านทานจำเพาะต่อมลูกหมาก (PSA)]] และโปรตีน [[โพรสเตติกแอซิดฟอสเฟเทส|ACPP]]
 
===การพัฒนา===
ส่วนต่อมลูกหมากของท่อปัสสาวะพัฒนาขึ้นจากส่วนกลาง (middle) และส่วนเชิงกรานของ[[โพรงอวัยวะเพศและทางเดินปัสสาวะ]] ของ[[เอนโดเดิร์ม]]ต้นดำเนิด<ref name=Langmans2019>{{cite book |last1=Sadley |first1=TW |title=Langman's medical embryology |date=2019|location=Philadelphia|publisher=Wolters Kluwer |isbn=9781496383907 |edition=14th|pp=265–6}}</ref> ประมาณปลายเดือนที่สามของชีวิตของเอ็มบริโอ ปุ่ม (outgrowths) จะเจริญขึ้นมาจากส่วนต่อมลูกหมากของท่อปัสสาวะ และเจริญเติบโตไปสู่[[เมเซนไคม์]]โดยรอบ<ref name=Langmans2019 /> เซลล์ที่บุในส่วนนี้ของท่อปัสสาวะเปลี่ยนสภาพไปเป็นเนื้อเยื่อบุผิวต่อมของต่อมลูกหมาก<ref name=Langmans2019 /> ส่วนเมเซนไคม์ที่เกี่ยวข้องจะเปลี่ยนสภาพไปเป็นส่วนพยุงหนาแน่นและ[[กล้ามเนื้อเรียบ]]ของต่อมลูกหมาก<ref>{{Cite book |isbn=978-1-4160-3705-7 |edition=7th|title=Before We are Born: Essentials of Embryology and Birth Defects|last1=Moore|first1=Keith L.|last2=Persaud|first2=T. V. N.|last3=Torchia|first3=Mark G.|year=2008}}</ref>
 
การรวมตัวกันของ[[เมเซนไคม์]] [[ท่อปัสสาวะ]] และ[[ท่อเมโซเนฟริก]] ทำให้เกิดต่อมลูกหมากในผู้ใหญ่ขึ้น ซึ่งเป็นอวัยวะที่ประกอบไปด้วยส่วนประกอบที่เป็นต่อมและไม่เป็นต่อม ซึ่งเชื่อมอยู่ด้วยกันอย่างแน่นหนาหลายส่วน
 
เพื่อให้ทำงานได้อย่างเหมาะสม ต่อมลูกหมากต้องการ[[ฮอร์โมน]]เพศชาย ([[แอนโดรเจน]]) ซึ่งรับผิดชอบคุณลักษณะ[[เพศ|ทางเพศ]]ของเพศชาย ส่วนฮอร์โมนหลักของเพศชาย คือ [[เทสโทสเตอโรน]] ซึ่งโดยหลักแล้วถูกผลิตขึ้นที่[[อัณฑะ]] ส่วนฮอร์โมนที่มีอำนาจเหนือกว่าที่ควบคุมต่อมลูกหมาก คือ [[ไดไฮโดรเทสโทสเตอโรน]] (DHT) ซึ่งเป็นเมทาบอไลท์ของเทสโทสเตอโรน
 
ต่อมลูกหมากจะใหญ่ขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป จนถึงทศวรรษที่สี่ของชีวิต<ref name="Grays2016" />
 
==หน้าที่==
 
== อ้างอิง ==