ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JulladaNARIT (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JulladaNARIT (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
|เขตอำนาจ =
|กองบัญชาการ = [[อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร]] <br>ตำบลดอนแก้ว [[อำเภอแม่ริม]] [[จังหวัดเชียงใหม่]]
|longs= |รหัสภูมิภาค =
|latd= |latm= |lats= |latNS=
|longd= |longm= |longs= |longEW=
|รหัสภูมิภาค =
|บุคลากร =
|งบประมาณ = 576.1338 ล้านบาท (พ.ศ. 2563)
เส้น 145 ⟶ 143:
''ตัวอย่าง'' งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ดังกล่าว คือ “การค้นพบการเกิดดาวเคราะห์คล้ายโลกในระบบดาวฤกษ์ที่เพิ่งเกิดใหม่” ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ และ ดร.วิภู รุโจปการ อาจารย์ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใช้กล้องโทรทรรศน์ทางไกลอัตโนมัติซีกฟ้าใต้สังเกตการณ์ระบบดาวฤกษ์เกิดใหม่ NGC2547-ID8 ร่วมกับกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ของนาซา ศึกษาพบการระเบิดของฝุ่นรอบดาวฤกษ์ดังกล่าว ที่เกิดจากการชนกันของดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่รอบดาวเคราะห์ การชนกันลักษณะนี้จะนำไปสู่การก่อตัวของดาวเคราะห์ดวงใหม่เช่นเดียวกับการเกิดดาวเคราะห์ในระบบสุริยะของเราในอดีต งานวิจัยนี้ถูกตีพิมพ์ ในวารสาร Science ที่มี Impact Factor สูงถึง 34.66
 
           อีกหนึ่งงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ คือการศึกษาชั้นบรรยากาศดาวเคราะห์นอกระบบ GJ3470b นำโดย ดร.ศุภชัย อาวิพันธุ์ นักวิจัยสถาบันวิจัยดาราศาสตร์ ทำการสังเกตการณ์การผ่านหน้าของดาวเคราะห์ GJ3470b ด้วยกล้องโทรทรรศน์ 2.4 เมตร ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา และกล้องโทรทรรศน์ทางไกลอัตโนมัติซีกฟ้าใต้ ผลการศึกษาพบว่าชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์ GJ3470b มีสีฟ้า และมีธาตุมีเทนเจือปนในชั้นบรรยากาศ นับเป็นงานวิจัยชิ้นแรกที่ค้นพบธาตุมีเทนในชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบดังกล่าว งานวิจัยนี้ถูกตีพิมพ์ในวารสาร Monthly Notices of the Royal Astronomical Society มี Impact factor 4.961 นอกจากนี้ผลของงานวิจัยนี้ ร่วมกับงานวิจัยอื่นด้านดาวเคราะห์นอกระบบในระหว่างศึกษาระดับปริญญาเอก ของ ดร.ศุภชัย อาวิพันธุ์ ได้รับการคัดเลือกให้ตีพิมพ์เป็นหนังสือในโครงการ Springer Theses ของสำนักพิมพ์ Springer<br />
<br />
 
== '''การพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูง - การใช้ดาราศาสตร์เป็นโจทย์ยากในการพัฒนาเทคโนโลยี และพัฒนาคน''' ==