ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ Nitisart Jungtrakungrat (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Viewwwwww
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี มีพระนามเดิมว่า "บุญรอด" เสด็จพระราชสมภพในเวลาเช้าของวันอาทิตย์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2310<ref>''ราชสกุลวงศ์'', หน้า 6</ref> ณ ตำบลอัมพวา เมืองราชบุรี (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ[[จังหวัดสมุทรสงคราม]]) เป็นพระธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์]] พระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก กับบิดาคือเจ้าขรัว[[เงิน แซ่ตัน]] เศรษฐีเชื้อสายจีนย่านถนนตาล ในกรุงศรีอยุธยา<ref name= "พลายน้อย">''พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม'', หน้า 56-57</ref> เมื่อแรกเริ่มเจ้าคุณชีโพ กนิษฐาใน[[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]]ได้ให้การอุปถัมภ์อำรุง คุณบุญรอดจึงนับถือเจ้าคุณชีโพเป็นพระมารดาเลี้ยงเสมอมา<ref name= "พลายน้อย"/>
 
พระองค์มีพระพี่น้องภราดาพพระภคินี รวม 6 พระองค์ ได้แก่
# [[สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์]] (ต้นราชสกุลเทพหัสดิน ณ อยุธยา)
# [[สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอนัคฆนารี]]
บรรทัด 54:
พระบรมศพประดิษฐานที่พระราชวังเดิม จนกระทั่งพระเมรุมาศ ณ ท้องสนามหลวงสร้างแล้วเสร็จในวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2380 จึงได้เชิญพระบรมศพข้ามฟากมาขึ้นที่ท่าวัดพระเชตุพนและเชิญพระบรมศพขึ้นพระยานุมาศเพื่อนำพระบรมศพไปประดิษฐานบนพระมหาพิชัยราชรถ แห่ไปยังพระเมรุมาศแล้วเชิญขึ้นพระเบญจา ครั้นถึงวันที่ 16 เมษายน [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการทั้งใหญ่น้อย ถวายพระเพลิงในวันต่อมา ได้แจงพระรูปลอยพระอังคารเก็บพระบรมอัฐิไว้ในโกศทองคำ ทำการสมโภชอีกวันหนึ่งรวมเป็นสี่วันสี่คืน ครั้นรุ่งขึ้นจึงแห่พระบรมอัฐิลงเรือเอกชัยที่ท่าพระมาสู่พระราชวังเดิม<ref>[http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๓/๑๑๑-งานพระบรมศพสมเด็จพระพันวัสสา พระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชชกาลที่ ๓:๑๑๑-งานพระบรมศพสมเด็จพระพันวัสสา]</ref>
 
เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นสืบราชสันตติวงศ์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชจักรีวงศ์แล้ว พระองค์ในวันพุธที่ 10 มีนาคม จ.ศ. 1213 (นับแบบปัจจุบันตรงกับ พ.ศ. 2395) จึงทรงตั้งพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระนามาภิไธยอัฏฐิสมเด็จพระบรมอัฐิบรมราชชนนีเป็น ''สมเด็จกรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์''<ref>[http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๔/๒๐-ถวายพระนามพระเจ้าแผ่นดิน-พระบรมราชชนนี-และกรมพระราชวังบวรที่สวรรคตแล้ว พระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชชกาลที่ ๔ : ๒๐. ถวายพระนามพระเจ้าแผ่นดิน พระบรมราชชนนี และกรมพระราชวังบวรที่สวรรคตแล้ว]</ref> ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกพระนามว่า ''สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี'' ตามที่ทรงเป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเป็นพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
== พระราชกรณียกิจ ==
บรรทัด 149:
* กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร. ''ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ วังหลวง''. ดอกหญ้า, 2549, ISBN 974-941-205-2
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = จุลลดา ภักดีภูมินทร์ (หม่อมหลวงศรีฟ้า ลดาวัลย์ มหาวรรณ)| ชื่อหนังสือ = เวียงวัง เล่ม ๑| URL = | จังหวัด = กรุงเทพ| พิมพ์ที่ = เพื่อนดี| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 2 มีนาคม 2551| ISBN = 978-974-253-061-7| หน้า = 256| จำนวนหน้า = 300}}
* {{cite web|title=พระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชชกาลที่ ๓|url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๓|publisher=ห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ|author=เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)|date=18 กุมภาพันธ์ 2481|accessdate=13 พฤศจิกายน 2560}} [ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพท่านผู้หญิงวงษานุประพัทธ์ (ตาด สนิทวงศ์ ณอยุธยา)]
* {{cite web|title=พระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชชกาลที่ ๔|url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๔|publisher=ห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ|author=ทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา|date=2477|accessdate=15 สิงหาคม พ.ศ. 2561}} [ที่ระลึก ในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงธรรมสารเนติ (อบ บุนนาค)]
* พิมาน แจ่มจรัส. ''รักในราชสำนัก''. สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2544, ISBN 974-341-064-3
* ส.พลายน้อย. ''พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม.'' พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ:ฐานบุ๊คส์. 2554