ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dr.Theerayut (คุย | ส่วนร่วม)
ดาวฤกษ์—>ดาวเคราะห์
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงข้อมูลภารกิจให้เป็นปัจจุบัน
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
}}{{Infobox spaceflight|image_captionname=วอยเอจเจอร์ 1|image_altimage=Voyager spacecraft.jpg|image_caption=ภาพแบบจำลองยานโครงการวอยเอจเจอร์|mission_type=สำรวจดาวเคราะห์ชั้นนอก เฮลิโอสเฟียร์ และมวลสารระหว่างดาว|operator=[[ไฟล์:NASA logo.svg|20px]] [[นาซา]]<br>
{{Infobox spaceflight|name=วอยเอจเจอร์ 1|image={{Image array
| perrow = 1
| height = 210
| width = 250
| image1 = Voyager logo.png
| caption1 = ตราภารกิจโครงการวอยเอจเจอร์
| image2 = Voyager spacecraft.jpg
| caption2 = ภาพจำลองของยานวอยเอจเจอร์ 1
}}|image_caption=|image_alt=|mission_type=สำรวจดาวเคราะห์ชั้นนอก เฮลิโอสเฟียร์ และมวลสารระหว่างดาว|operator=[[ไฟล์:NASA logo.svg|20px]] [[นาซา]]<br>
[[ไฟล์:Jet Propulsion Laboratory logo.svg|20px]] [[ห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น]]|website={{url|https://voyager.jpl.nasa.gov}}|COSPAR_ID=1977-084A<ref name="nasa.084A">{{cite web | url=https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftOrbit.do?id=1977-084A | title=Voyager 1 | publisher=NASA/NSSDC | work=NSSDC Master Catalog | accessdate=August 21, 2013 | archive-url=https://web.archive.org/web/20131214045307/http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftOrbit.do?id=1977-084A | archive-date=December 14, 2013 | dead-url=yes | df=mdy-all }}</ref>|SATCAT=10321<ref name="n2yo.10321">{{cite web | url=https://www.n2yo.com/satellite/?s=10321 | title=Voyager 1 | publisher=N2YO | accessdate=August 21, 2013}}</ref>|mission_duration={{plainlist|
*{{Age in years, months and days| year=1977| month=09| day=05}}
*<small>สำรวจดาวเคราะห์: 3 ปี 3 เดือน 9 วัน
*สำรวจช่องว่างอวกาศระหว่างดาวดาวฤกษ์: {{Age in years, months and days|year=1980|month=12|day=14}} (อยู่ระหว่างดำเนินการ)</small>}}|spacecraft_type=มาริเนอร์ จูปิเตอร์-แซทเทิร์น (Mariner Jupiter-Saturn)|manufacturer=[[ไฟล์:Jet Propulsion Laboratory logo.svg|20px]] [[ห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น]]|dry_mass=|launch_mass={{convert|825.5|kg|abbr=on}}|power=470 วัตต์ (วันที่ขณะปล่อยยาน)|launch_date=5 กันยายน ค.ศ. 1977, 12:56:00 UTC|launch_rocket=[https://en.wikipedia.org/wiki/Titan_IIIE&#124; Titan_IIIE]|launch_site={{flagicon|USA}} ฐานปล่อยจรวด 41 ฐานทัพอากาศ[[แหลมคะแนเวอรัล]]|launch_contractor=|last_contact=<!-- {{end-date|[date]}} -->|decay_date=|interplanetary={{Infobox spaceflight/IP
| type = flyby
| object = [[ดาวพฤหัสบดี]]
เส้น 30 ⟶ 22:
| distance = {{convert|6490|km|mi|abbr=on}}
| arrival_date = 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980
}}|programme=ยานสำรวจอวกาศที่สำคัญ|previous_mission=''[[วอยเอจเจอร์ 2]]''|next_mission=''[[กาลิเลโอ (ยานอวกาศ)|กาลิเลโอ]]''|insignia=Voyager logo.png|insignia_caption=ตราภารกิจโครงการวอยเอจเจอร์}}{{ใช้ปีคศ}}'''''วอยเอจเจอร์ 1''''' ({{lang-en|''Voyager 1''}}) เป็น[[ยานสำรวจอวกาศ]] (space probe) แบบไร้คนขับซึ่งองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ[[สหรัฐ]]หรือองค์การ[[นาซา]]ได้ทำการปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1977 ภายใต้[[โครงการวอยเอจเจอร์]] ปัจจุบันยานสำรวจปฏิบัติงานอยู่ภารกิจในอวกาศเป็นเวลานานถึง {{Age in years, months and days|year=1977|month=099|day=055}} ซึ่ง(ณ วันที่ {{TODAY}}) และยังคงสื่อสารกับพื้น[[โลก]]ผ่านทาง[[เครือข่ายสื่อสารข้อมูลห้วงอวกาศห้วงลึก]] (DSN) เพื่อรับคำสั่งประจำและส่งข้อมูลกลับมายังโลก โดยข้อมูลระยะทางและความเร็วของยานตามเวลาจริงสามารถดูได้จากเว็บไซต์ของนาซาและห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น<ref>https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/status/</ref> และด้วยระยะห่างทางของยานสำรวจที่อยู่ห่างไกลจากโลกราว 145148.61 [[หน่วยดาราศาสตร์]] (2122.72 พันล้านกิโลเมตร, 13.58 พันล้านไมล์) เมื่อวันที่ 712 มิถุนายนมีนาคม ค.ศ. 20192020<ref name="voyager2">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/status/|title=Voyager - Mission Status|last=|first=|date=|work=[[Jet Propulsion Laboratory]]|publisher=[[National Aeronautics and Space Administration|archive-url=|archive-date=|dead-url=]]|accessdate=FebruaryDecember 1626, 2019}},</ref> จึงถือได้ว่าส่งผลให้ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เป็นวัตถุที่สร้างโดยมนุษย์ที่อยู่ไกลจาก[[โลก]]มากที่สุด<ref>{{cite web|url=http://www.bbc.co.uk/science/space/solarsystem/space_missions/voyager_1|title=Voyager 1|work=[[BBC]] Solar System|accessdate=4 September 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180203195855/http://www.bbc.co.uk/science/space/solarsystem/space_missions/voyager_1|archive-date=February 3, 2018|dead-url=yes|df=mdy-all}}</ref>
 
ภารกิจของยานสำรวจคือการบินเฉียดโฉบ[[ดาวพฤหัสบดี]] [[ดาวเสาร์]] และ[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ดวงจันทร์ไททัน]] (ดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์) ซึ่งต่างจากแผนการบินเดิมทีแล้วมีคือการวางแนวโคจรของยานเพื่อบินเฉียดโฉบ[[ดาวพลูโต]]โดยการไม่บินเฉียดผ่านดวงจันทร์ไททัน แต่ภายหลังได้มีการปรับเปลี่ยนแผนการบินเป็นการบินเฉียดโฉบดวงจันทร์ไททันแทน เนื่องจากต้องการศึกษาซึ่งมีความสำคัญมากกว่า โดยพุ่งเป้าไปที่ชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น ซึ่งเป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์มากในขณะนั้น<ref name="faq3">{{cite web|url=https://www.jpl.nasa.gov/voyager/frequently-asked-questions/|title=Voyager – Frequently Asked Questions|publisher=NASA|date=February 14, 1990|accessdate=August 4, 2017}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.nasaspaceflight.com/2015/07/new-horizons-pluto-historic-kuiper-encounter/|title=New Horizons conducts flyby of Pluto in historic Kuiper Belt encounter|accessdate=September 2, 2015}}</ref><ref name="SD3">{{cite web|url=http://www.spacedaily.com/reports/What_If_Voyager_Had_Explored_Pluto_999.html|title=What If Voyager Had Explored Pluto?|accessdate=September 2, 2015}}</ref> ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ทำการสำรวจสภาพอากาศ สภาพสนามแม่เหล็ก และวงแหวนของทั้งดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ นอกจากนี้ยังเป็นยานสำรวจลำแรกที่ได้ถ่ายภาพเผยให้เห็นรายละเอียดของกลุ่มดาวบริวารของดาวเคราะห์เหล่านี้อีกด้วย
 
ภายหลังเสร็จสิ้นภารกิจหลักในการบินเฉียดโฉบดาวเสาร์เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ถือได้สร้างประวัติศาสตร์ โดยเป็นวัตถุที่สร้างโดยมนุษย์ชิ้นที่ 3 (จากทั้งหมด 5 ชิ้น) ที่โคจรด้วยความเร็วมากพอจนถึงระดับ[[ความเร็วหลุดพ้น]]เพื่อออกจาก[[ระบบสุริยะ]] นอกจากนี้ในวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 2012 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ยังเป็นยานอวกาศลำแรกที่ได้ข้ามผ่านอวกาศชั้น[[เฮลิโอพอส]]และเข้าสู่อวกาศชั้น[[มวลสารระหว่างดาว]]<ref name="NYT-20130912">{{cite news|last=Barnes|first=Brooks|title=In a Breathtaking First, NASA Craft Exits the Solar System|url=https://www.nytimes.com/2013/09/13/science/in-a-breathtaking-first-nasa-craft-exits-the-solar-system.html|date=September 12, 2013|work=[[New York Times]]|accessdate=September 12, 2013}}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 2017 ทีมงานของวอยเอจเจอร์ประสบความสำเร็จในการทดลองจุดชุดเครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้ในการควบคุมแนวโคจร (TCM) ซึ่งไม่มีการใช้งานมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 ส่งผลให้สามารถขยายเวลาทำภารกิจของยานไปได้อีกสองถึงสามปี<ref name="Backup thrusters test2">{{cite news|last=Wall|first=Mike|title=Voyager 1 Just Fired Up its Backup Thrusters for the 1st Time in 37 Years|url=https://www.space.com/38967-voyager-1-fires-backup-thrusters-after-37-years.html|accessdate=December 3, 2017|publisher=Space.com|date=December 1, 2017}}</ref>
 
มีการประมาณการคาดการณ์ว่ายานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' จะยังสามารถทำภารกิจต่อไปได้จนถึงปี ค.ศ. 2025 หรือจนกว่า[[เครื่องกำเนิดไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี]] (RTG) จะจ่ายไฟผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการของอุปกรณ์ภายในยาน และหลังจากนั้นยานจะโคจรลอยเคว้งคว้างเป็นวัตถุเร่ร่อนในอวกาศ
 
== เบื้องหลังภารกิจ ==
 
=== ประวัติความเป็นมา ===
ในปี ค.ศ. 1964 นาซาได้เสนอแนวคิด[[โครงการแกรนด์ทัวร์]]ซึ่งมีเป้าหมายในการส่งยานสำรวจเพื่อทำการศึกษาดาวเคราะห์ภายนอกระบบสุริยะ และเริ่มดำเนินงานโครงการในตอนต้นยุค ค.ศ. 1970<ref name="NASA.1960">{{cite web|url=http://voyager.jpl.nasa.gov/mission/index.html|title=1960s|publisher=JPL|accessdate=August 18, 2013|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20121208070306/http://voyager.jpl.nasa.gov/mission/index.html|archivedate=December 8, 2012|df=mdy-all}}</ref> ข้อมูลที่ได้รับจากยานสำรวจ ''[[ไพโอเนียร์ 10]]'' ยังช่วยให้ทีมวิศวกรของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์'' สามารถออกแบบยานสำรวจเพื่อรับมือกับระดับกัมมันตรังสีที่รุนแรงของดาวพฤหัสบดีได้อีกด้วย<ref name="rad">{{cite web|title=The Pioneer missions|date=2007|publisher=NASA|url=https://www.nasa.gov/centers/ames/missions/archive/pioneer.html|accessdate=August 19, 2013}}</ref>
 
เส้น 53 ⟶ 45:
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ใช้ระบบการสื่อสารผ่านคลื่นวิทยุย่านความถี่สูงซึ่งออกแบบให้สามารถสื่อสารได้ไกลถึงนอก[[ระบบสุริยะ]] ตัวยานประกอบไปด้วยจานสายอากาศทรง[[พาราโบลา]] แบบแคสซิเกรน (Cassegrain) ซึ่งมีเกณฑ์ขยายสูง ขนาด[[เส้นผ่านศูนย์กลาง]] 3.7 เมตร (12 ฟุต) ส่งสัญญาณและรับสัญญาณ[[คลื่นวิทยุ]]ผ่าน[[เครือข่ายสื่อสารข้อมูลห้วงอวกาศ]] (Deep Space Network: DSN) ที่มีสถานีฐานกระจายอยู่ทั่วพื้นโลก<ref name="nasa.hga2">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/spacecraft/instruments_hga.html|title=High Gain Antenna|publisher=JPL|accessdate=August 18, 2013}}</ref> ปกติแล้วยานจะส่งสัญญาณผ่านทางช่องสัญญาณ์ 18 โดยใช้ย่านความถี่ 2.3&nbsp;[[จิกะ]][[เฮิรตซ์]] หรือ 8.4&nbsp;จิกะเฮิรตซ์ ในขณะที่การส่งสัญญาณจากโลกไปหาตัวยานจะทำผ่านย่านความถี่ 2.1&nbsp;จิกะเฮิรตซ์ <ref name="nasa.tele2">{{cite web|last=Ludwig|first=Roger|last2=Taylor|first2=Jim|title=Voyager Telecommunications|work=DESCANSO Design and Performance Summary Series|publisher=NASA/JPL|date=March 2002|url=https://descanso.jpl.nasa.gov/DPSummary/Descanso4--Voyager_new.pdf|accessdate=September 16, 2013}}</ref>
 
ในช่วงที่ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ไม่สามารถส่งข้อมูลมายังโลกโดยตรงได้ ข้อมูลทั้งหมดจะถูกบันทึกลง[[เทป (สื่อบันทึกเสียง)|เทป]]บันทึกระบบดิจิตอล (DTR) ซึ่งสามารถบันทึกข้อมูลได้สูงสุด 64 กิโลไบต์ เพื่อรอการส่งกลับมายังโลกในครั้งถัดไป<ref name="nasa.77.136">{{cite web|title=NASA News Press Kit 77–136|publisher=JPL/NASA|url=http://forum.nasaspaceflight.com/index.php?action=dlattach;topic=9476.0;attach=591860|accessdate=December 15, 2014}}</ref> โดยใช้เวลาประมาณ 20 ชั่วโมงในการส่งสัญญาณจากยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' กลับมายังโลก<ref name="voyager">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/status/|title=Voyager - Mission Status|last=|first=|date=|work=Jet Propulsion Laboratory|publisher=National Aeronautics and Space Administration|archive-url=|archive-date=|dead-url=|accessdate=February 16, 2019}}</ref>
 
==== แหล่งพลังงาน ====