ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าแอเทลสแตนแห่งอังกฤษ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
→‎การรวบรวมอังกฤษ: ขัดเกลาภาษา อีกทั้งเมื่อตรวจเทียบกับต้นฉบับจากวิกิภาษาอังกฤษพบว่ามีแปลผิดพลาดหลายส่วน จึงต้องลบออก
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 43:
เวลาส่วนใหญ่ในรัชสมัยของพระองค์มักจะหมดไปกับการต่อต้านผู้รุกราน[[ชาวไวกิง]]อย่างต่อเนื่อง พระเจ้าแอเทลสแตนตัดสินพระทัยทำสนธิสัญญากับพวกเขาที่แทมเวิร์ธ โดยมีเงื่อนไขว่าพระองค์จะอภิเษกพระขนิษฐาร่วมพระราชมารดาของพระองค์ อีดิธ กับผู้นำของ[[ชนเดนส์|ชาวเดนส์]] ซิธริค กษัตริย์แห่งยอร์ก ซิธริคสวรรคตในปีต่อมา พระองค์จึงฉวยโอกาสนี้ยึดนอร์ธัมเบรีย อาณาจักรของพระองค์จึงมีขนาดโดยคร่าว ๆ เท่ากับอังกฤษในปัจจุบัน
 
เจ้าหญิง[[ชาวเคลต์]]แห่ง[[ประเทศเวลส์|เวลส์]]ถวายการสวามิภักดิ์ต่อพระองค์ที่แบมบะระในตอนต้นของรัชสมัยของพระองค์ พร้อมกับ[[ฮีเวล กษัตริย์แห่งเวลส์]], [[พระเจ้าคอนสแตนตินที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์]] และโอเว่นแห่งเกว็นท์ พระองค์ทรงประสบความสำเร็จในการขับไล่ชาวคอร์นวอลล์ออกไปจากเอ็กซิเตอร์และสร้างเส้นแบ่งเขตแดนกับคอร์นวอลล์ที่แม่น้ำแทมาร์
 
ในปี ค.ศ.937 พระเจ้าคอนสแตนตินที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ทรงร่วมมือกับเอียวแกนแห่งสแตรธไคลด์และโอลาฟ กรุธฟริธสัน กษัตริย์แห่งดับลินรุกรานอังกฤษ พระองค์จึงเดินทัพขึ้นเหนือเพื่อประจันหน้ากับพวกเขา ทรงได้รับชัยชนะในยุทธการบรูนันเบอร์ในปี ค.ศ.937 ทรงตีกองกำลังร่วมไวกิง-สก็อตแลนด์จนแตกพ่ายไป จดหมายเหตุของอัลสเตอร์บันทึกเรื่องสมรภูมิไว้ว่า<blockquote>''<nowiki/>เป็นสมรภูมิครั้งใหญ่อันน่าเศร้าและหวาดกลัว การสู้รบเป็นไปอย่างไร้ความปราณี ผู้มาจากแดนเหนือ (ไวกิง) จำนวนนับพัน ๆ คนถูกสังหาร ชาวแซกซอนจำนวนมากก็ถูกสังหารเช่นกัน แต่แอเทลสแตน กษัตริย์แห่งชาวแซกซอนก็ได้ชัยชนะอันยิ่งใหญ่ไปครอง'''</blockquote>ถือกันว่าบรูนันเบอร์เป็นหนึ่งในสมรภูมิที่นองเลือดที่สุดของยุค กษัตริย์ห้าพระองค์กับเอิร์ลเจ็ดคนสูญเสียชีวิตไปในการรบ อัลฟริกกับเอเธลวิน พระญาติของพระเจ้าแอเทลสแตนและบิชอปชาวแซกซอนผู้มีชื่อเสียงก็เป็นหนึ่งในผู้เสียชีวิตเช่นกัน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมรภูมิยังไม่ทราบแน่ชัด แต่แหล่งข้อมูลบางแห่งบันทึกไว้ว่าชาวแซกซอนใช้ทหารม้าจัดการกับศัตรู ขัดกับความเชื่อยอดนิยมที่ว่าพวกเขานิยมใช้ทหารราบเสียมากกว่า ทหารม้าในกองกำลังแซกซอนเป็นไปได้สูงว่าเป็นทหารรับจ้าง ตัวพงศาวดารแองโกล-แซกซอนเองไม่ได้พูดถึงการใช้ทหารม้าและอาจจะเป็นไปได้ว่าความเชื่อที่ว่าชาวแซกซอนใช้ทหารม้าเกิดจากการแปลคำว่า ''eorodcistum'' ในภาษาอังกฤษเก่าผิดไปจากเดิม ซึ่งอาจจะหมายความว่ากองกําลังที่ว่านี้ไม่ใช่ทหารม้า พระเจ้าคอนสแตนตินที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ทรงหลบหนีไปจากสมรภูมิหลังจากพระราชโอรสของพระองค์ถูกสังหารในสมรภูมิ
 
แม้จะมีชื่อเสียง แต่ที่ตั้งของสมรภูมินั้นยังไม่ชัดเจนและทฤษฎีต่างๆสถานที่มากมายได้รับการถกเถียง เสนอว่าเป็นจุดที่ตั้งถูกเชื่อมโยงเข้ากับเกิดยุทธการนี้ อาทิเช่น เบิร์นสวอร์กในสก็อตแลนด์ตะวันตกเฉียงใต้, ทินสลีย์วู้ดใกล้กับเชฟฟิลด์, ยอร์กเชียร์และเอ็กมินสเตอร์ในเดวอน ทว่าบรอมโบโร่ที่แหลมวิร์รอนยังคงเป็นตัวเลือกที่เป็นไปได้ที่สุด สมรภูมิครั้งนี้ยังคงเป็นหนึ่งในเหตุการณ์ที่สำคัญอย่างยิ่งในของ[[ประวัติศาสตร์ของอังกฤษ]] เนื่องจากการผงาดชัยชนะของเอเธลสตานและการบดขยี้กองพระเจ้าพระองค์ต่อกำลังร่วมของชาวนอร์สและชาวเซลต์เคลต์ทำให้อังกฤษชาวแองโกล-แซกซันยังคงครอบครองอาณาบริเวณที่จะกลายเป็นอาณาจักรแองโกลแซ็กซัน[[ประเทศอังกฤษ]]ไว้ได้ บีบอาณาจักรเซลติกและกลายเป็นรากฐานให้ตกอยู่ในสถานะถูกยึดครองมาจนถึงทุกวันนี้วัฒนธรรมและสังคมอังกฤษสืบต่อไป
 
พันธไมตรีพระองค์เสริมสร้างพันธมิตรทางการเมืองถูกสร้างขึ้นจากด้วยการแต่งงานของอภิเษกเหล่าพระขนิษฐาของกษัตริย์พระองค์เองกับบรรดาผู้ปกครองดินแดนต่าง ๆ พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับหนึ่งในพระขนิษฐาจำนวนมากมายของร่วมพระราชมารดากับซิธริค กษัตริย์ไวกิ้งแห่งยอร์วิช (ยอร์ก) ที่ชื่อเซ็ค (แปลว่าตาเข) การอภิเษกสมรสถูกจัดขึ้นที่แทมเวิร์ธและเป็นผลให้ซิธริคยอมรับเอเธลสตานพระองค์เป็นผู้อยู่เจ้าเหนือกษัตริย์หัวและเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ ทรงอภิเษกพระขนิษฐาของพระองค์ต่างมารดา [[อีดิธดจิธแห่งเวสเซ็กซ์ ได้อภิเษกสมรสสมเด็จพระราชินีแห่งเยอรมนี|อีดจิธ]]กับจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อ็อตโต้ที่[[อ็อทโทที่ 1 และพระขนิษฐาอีกพระองค์มหาราช|พระเจ้าอ็อทโทที่ เอ็ดกิฟู1 ได้เป็นราชินีแห่งฝรั่งเศสจากการอภิเษกสมรสกับชาร์ลผู้เรียบง่ายเยอรมนี]] พระองค์ยังอภิเษกพระขนิษฐาอีกพระองค์หนึ่งกับไวกิ้ง เอกิล[[อีดจิฟูแห่งเวสเซ็กซ์|อีดจิฟู]] สแกลลากริมสัน ผู้อยู่ใต้การปกครองของวีรชนชาวไอร์แลนด์ และพระขนิษฐาคนต่อมาแต่งงานเพื่อสร้างพันธไมตรีทางการเมืองทรงอภิเษกสมรสกับอลันที่[[พระเจ้าชาร์ลที่ 23 แห่งบริททาเนียแห่งฝรั่งเศส]]
 
เอเธลสตานยังสามารถบริหารปกครองและสร้างกฎหมายดีๆมากมายที่ต่อต้านการลักขโมย, การกดขี่ และการฉ้อโกง และลดโทษแก่ผู้กระทำผิดที่อายุน้อย พระองค์มีเมตตาและเป็นที่นิยมและเหมือนเช่นพระปัยกา เอเธลวูล์ฟ ทรงจัดหาเสบียงให้ผู้อยู่ใต้การปกครองที่ยากไร้กว่า เอเธลสตานมีพระราชโองการโดยตรงว่าคฤหาสน์แต่ละหลังที่มีราชวงศ์เป็นเจ้าของต้องเสียภาษีรายปีซึ่งต้องถูกเอาไปใช้ในการบรรเทาความยากจนและขาดแคลน จดหมายเหตุของอุลสเตอร์อ้างอิงถึงเขาว่าเป็น "เสาหลักอันทรงเกียรติของโลกตะวันตก"