ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ที่หยุดรถไฟตลาดหนองคาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Paweeraphat Thasee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Paweeraphat Thasee (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 29:
=== การเปลี่ยนชื่อ ===
[[ไฟล์:การเปลี่ยนชื่อสถานีรถไฟหนองคายเดมเป็นสถานีรถไฟนาทา.jpg|thumb|238x238px|ประกาศการตั้งชื่อสถานีที่ต่อจากสถานีหนองคายไปสู่ริมฝั่งแม่น้ำโขงว่าสถานี "หนองคาย" และเปลี่ยนชื่อสถานีหนองคายเดิม เป็นสถานี "นาทา<ref name=":0" />]]
ซึ่งในการตั้งชื่อสถานีรถไฟสร้างใหม่ ริมฝั่งแม่น้ำโขง การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้ติดต่อกับผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคายแล้วเห็นควรตั้งชื่อว่า"หนองคาย" ใน ก.ม.623+588.11 โดยใช้ชื่อย่อว่า "นค." อภาษาอังกฤษว่า "Nong Khai" เนื่องจากตั้งอยู่ในตัวเมืองหนองคาย ส่วนสถานีหนองคายเดิมเห็นควรเปลี่ยนชื่อเสียใหม่เป็นสถานี"นาทา" ใน ก.ม. 617+840 ใช้อักษรย่อเพื่อมิให้พ้องกับแห่งอื่นว่า "ยน." ชื่อภาษาอังกฤษว่า "Na Tha" เพราะเนื่องจากสถานีรถไฟอยู่ติดกับตำบลนาทา<ref>[http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=10&postdays=0&postorder=asc&start=360 คำสั่งทั่วไป ที่ ก.๑๑๒/๗๕๙๙ การรถไฟแห่งประเทศไทย เรื่อง '''ตั้งชื่อสถานีที่ต่อจากสถานีหนองคายไปสู่ริมฝั่งแม่น้ำโขงว่าสถานี "หนองคาย" และเปลี่ยนชื่อสถานีหนองคายเดิม เป็นสถานี "นาทา''' ตำนานแห่งรถไฟไทย หน้า37 Rotfaithai.Com] สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2562.</ref>
[[ไฟล์:เปิดการเดินรถต่อจากสถานีนาทาถึงสถานีหนองคาย.jpg|thumb|ประกาศเปิดการเดินรถต่อจากสถานีนาทาถึงสถานีหนองคายอย่างเป็นทางการ<ref name=":1" />]]
 
=== การเปิดเดินรถไฟ ===
หลังจาการก่อสร้างทางรถไฟ แล้วมีการตั้งชื่อและเปลี่ยนชื่อ ช่วงสถานีนาทา-สถานีหนองคายเสร็จแล้ว จึงเปิดเดินรถครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501 แต่เนื่องจากก่อสร้างอาคารสถานีหนองคายที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]จะเปิดสถานีหนองคายเป็นที่หยุดรถไปพลางก่อน ที่ก.ม. 623+588 (บริเวณย่านสถานีหนองคาย ริมฝั่งแม่น้ำโขง) โดยใช้ชื่อว่า "ที่หยุดรถหนองคาย" มีอักษรย่อว่า "นค." ให้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า "Nong Khai" เป็นการชั่วคราวแทนสถานีหนองคาย ตามคำสั่งที่ ก.112/7599 ที่ลงวันที่ 16 กันยายน 2500 ซึ่งให้ใช้ความเร็วในการเดินรถในทางตอน[[สถานีรถไฟนาทา|สถานีนาทา]]-[[ที่หยุดรถไฟตลาดหนองคาย|ที่หยุดรถไฟหนองคาย]] โดยใช้ความเร็วไม่เกิน 20 กิโลเมตร/ชั่วโมง หลังจากก่อสร้างสถานีรถไฟหนองคายเสร็จครบถ้วน จึงเปลี่ยนชื่อกลับจากที่หยุดรถไฟหนองคาย เป็น[[ที่หยุดรถไฟตลาดหนองคาย|สถานีรถไฟหนองคาย]] แล้วเปิดการเดินรถได้ตลอดทาง เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 โดยความยาวของทางรถไฟสายนี้ ตั้งแต่สถานีชุมทางถนนจิระ ถึง สถานีหนองคาย ยาว 359 กิโลเมตร<ref name=":1">[http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=10&postdays=0&postorder=asc&start=360 คำสั่งทั่วไป ที่ ก.๑๕๑/๑๐๑๘๐ การรถไฟแห่งประเทศไทย เรื่อง '''เปิดการเดินรถต่อจากสถานีนาทาถึงสถานีหนองคาย '''ตำนานแห่งรถไฟไทย หน้า37 Rotfaithai.Com] สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2562.</ref>
 
=== การถูกลดระดับ และยุบสถานี ===