ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีกรุงเทพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wasin147 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8718574 สร้างโดย 49.237.5.119 (พูดคุย) เข้าใจวชื่อสถานีที่แท้จริง เมื่อนับจาก ทั้งป้ายสถานี ตั๋วโดยสาร หรือป้ายหน้าสถานี จะเขียน”สถานีกรุงเทพฯ” แต่อย่างไรก็ตาม การเขียนว่า “นิยมเรียกกันว่า” มันหมายถึง สิ่งที่ผู้คนนิยมเรียก แม้จะผิดก็ตาม
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Domemk110 (คุย | ส่วนร่วม)
สถานีรถไฟกรุงเทพ ไม่ใช่สถานีรถไฟหัวลำโพง คนไม่ได้นิยมเรียกที่นี่ว่าสถานีรถไฟหัวลำโพง แต่เรียกสถานีรถไฟใต้ดินหัวลำโพงที่อยู่ใกล้ๆ กับสถานีรถไฟกรุงเทพที่ปัจจุบันอยู่บริเวณสถานีรถไฟหัวลำโพงที่ถูกปิดไปในปี พ.ศ.2503
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 50:
[[ไฟล์:Interior - Bangkok Railway Station (II).jpg|thumb|250px|ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ บริเวณที่นั่งพักคอยและร้านค้าเช่า]]
 
'''สถานีรถไฟกรุงเทพ''' หรือที่นิยมมักเรียกผิดกันว่า '''สถานีรถไฟหัวลำโพง''' เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด เริ่มก่อสร้างขึ้นในปลายรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ในปี [[พ.ศ. 2453]] สร้างเสร็จและเปิดใช้งานเมื่อวันที่ [[25 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2459]] ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ปัจจุบันสามารถเชื่อมต่อกับ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] ได้บริเวณ[[ถนนพระรามที่ 4]] โดยมีรูปแบบของทางเชื่อมต่อทางสถาปัตยกรรมที่กลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานคร
 
สถานีกรุงเทพก่อสร้างในลักษณะ[[โดม]]สไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบ[[เรอเนสซองซ์]] คล้ายกับ[[สถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ต]]ใน[[ประเทศเยอรมนี]] ประดับด้วย[[หินอ่อน]]และเพดานมี[[การสลักลายนูน]]ต่าง ๆ เป็นหลัก โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่รัศมี 80 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง