ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ร้อยแก้ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ร้อยแก้ว''' เป็น[[ภาษา]]รูปแบบหนึ่งซึ่งใช้[[วากยสัมพันธ์|โครงสร้างไวยากรณ์]]ปกติและการไหลของถ้อยคำอย่างเป็นธรรมชาติ แทนที่จะใช้โครงสร้างเป็นจังหวะดังใน[[กวีนิพนธ์]] แม้จะมีการถกเถียงเชิงวิจารณ์ต่อการสร้างร้อยแก้ว แต่ด้วยความเรียบง่ายและโครงสร้างที่นิยามอย่างหลวม ทำให้ร้อยแก้วถูกนำมาใช้ในบทสนทนาเป็นส่วนใหญ่ วจนิพนธ์ข้อเท็จจริง ตลอดจนการเขียนเฉพาะเรื่องและบันเทิงคดี ร้อยแก้วเป็นรูปแบบภาษาที่ใช้กันสามัญ เช่น ใน[[วรรณกรรม]] [[หนังสือพิมพ์]] [[นิตยสาร]] [[สารานุกรม]] การแพร่[[สัญญาณ]]ทางสื่อต่างๆ หนังสือทาง[[ประวัติศาสตร์]]และ[[ปรัชญา]] [[กฎหมาย]] และการสื่อสารอีกหลายรูปแบบ
 
== แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม ==
 
* สมิทธ์ ถนอมศาสนะ. (2558, เม.ย.-มิ.ย.). กำเนิด “เรื่องอ่ํานเล่นร้อยแก้วสมัยใหม่”: ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบและบริบททํางความคิด. ''สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์'', ''21''(2), 133-190.
 
[[หมวดหมู่:ร้อยแก้ว| ]]