ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคคูรู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
QueerEcofeminist (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 38:
 
==ภูมิคุ้มกัน==
[[File:PMC4235695Cerebellum pathogens-02-00472-g012of kuru victim.png|thumb|สมองของผู้ป่วยโรคคูรู]]
เมื่อ พ.ศ.2552 นักวิจัยจากสภาวิจัยทางการแพทย์ของอังกฤษค้นพบว่า รูปแบบและชนิดที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของโปรตีนพรีออนก่อให้เกิดความต้านทานโรคคูรูมากในประชากรของปาปัวนิวกินี การวิจัยซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ.2539<ref name=SD>{{cite web|url=https://www.sciencedaily.com/releases/2009/11/091120091959.htm|title=Releases|website=Sciencedaily.com|access-date=2016-11-12}}</ref> นักวิจัยได้สำรวจและประเมินค่ามากกว่า 3,000 คนจากประชากรจากรอบๆบริเวณอีสเทิร์นไฮแลนด์ที่ได้รับผลกระทบ เพื่อค้นหาโครงสร้างที่แตกต่างของโปรตีนพรีออน G127 <ref name="Mead 2056–2065">{{Cite journal|last=Mead|first=Simon|last2=Whitfield|first2=Jerome|last3=Poulter|first3=Mark|last4=Shah|first4=Paresh|last5=Uphill|first5=James|last6=Campbell|first6=Tracy|last7=Al-Dujaily|first7=Huda|last8=Hummerich|first8=Holger|last9=Beck|first9=Jon|date=2009-11-19|title=A Novel Protective Prion Protein Variant that Colocalizes with Kuru Exposure|url=https://dx.doi.org/10.1056/NEJMoa0809716|journal=[[New England Journal of Medicine]]|volume=361|issue=21|pages=2056–2065|doi=10.1056/NEJMoa0809716|issn=0028-4793|pmid=19923577}}</ref> นักวิจัยได้ค้นพบว่าโครงสร้างที่แตกต่างโปรตีนพรีออน G127 ในประชากรเกิดจาก missense mutation และมีขอบเขตจำกัดบริเวณที่มีการแพร่ระบาดของโรคคูรูมากที่สุด นอกจากนี้แล้วนักวิจัยเชิ่อว่าโครงสร้างที่แตกต่างโปรตีนพรีออนเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ โดยประมาณสิบชั่วอายุคน<ref name="Mead 2056–2065"/><ref>{{cite journal|title=Supply file|url=http://www.nejm.org/doi/suppl/10.1056/NEJMoa0809716/suppl_file/nejm_mead_2056sa1.pdf|doi=10.1056/nejmoa0809716/suppl_file/nejm_mead_2056sa1.pdf}}</ref>