ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประสาทกายวิภาคศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ประสาทกายวิภาคศาสตร์''' (Neuroanatomy) เป็นสาขาหนึ่งของวิชา[[กายวิภาคศาสตร์]]ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการจัดเรียงโครงสร้างทางกายวิภาคของ[[ระบบประสาท]] อันประกอบ[[เส้นประสาท]]จำนวนมากที่กระจายตัวจาก[[สมอง]]ไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย รวมทั้งโครงสร้างภายในของสมองซึ่งมีความซับซ้อนมาก การศึกษาประสาทกายวิภาคศาสตร์จึงมีการพัฒนาอย่างเป็นระเบียบในตัวมันเอง และยังเป็นสาขาวิชาที่มีการศึกษาเป็นพิเศษในวิชา[[ประสาทวิทยาศาสตร์]] การอธิบายความแตกต่างของโครงสร้างและส่วนของสมองจะเน้นไปถึงการศึกษาการทำงานของมัน ดังเช่นการศึกษาของนักประสาทวิทยาศาสตร์จะมาจากการศึกษาความผิดปกติ (damage หรือ lesion) ของสมองในแต่ละส่วนว่ามีผลอย่างไรต่อ[[พฤติกรรม]]หรือการทำงานของประสาท
 
<!-- '''Neuroanatomy''' is the branch of [[anatomy]] that studies the anatomical organization of the [[nervous system]]. In [[vertebrate]] [[animal]]s, the [[PNS|routes]] that the myriad [[nerve]]s take from the [[brain]] to the rest of the body (or "periphery") , and the internal structure of the brain in particular, are both extremely elaborate. As a result, the study of neuroanatomy has developed into a discipline in itself, although it also represents a specialization within [[neuroscience]]. The delineation of distinct structures and regions of the brain has figured centrally in investigating how it works. For example, much of what neuroscientists have learned comes from observing how damage or "lesions" to specific brain areas affects [[behavior]] or other neural functions.
 
== ตัวอย่าง ==
{{Mainบทความหลัก|ระบบประสาท}}
ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกได้เป็น[[ระบบประสาทกลาง]] หรือ ซีเอ็นเอส (central nervous system) และ[[ระบบประสาทนอกส่วนกลาง]] หรือ พีเอ็นเอส(peripheral nervous system) ระบบประสาทกลางประกอบด้วย[[สมอง]] (brain) และ[[ไขสันหลัง]] (spinal cord) ซึ่งมีหน้าที่หลักในการควบคุมพฤติกรรม ส่วนระบบประสาทนอกส่วนกลางประกอบด้วยเซลล์ประสาททั้งหมดที่อยู่นอกระบบประสาทกลาง ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นระบบประสาทกาย (somatic nervous system) และระบบประสาทอิสระ หรือ เอเอ็นเอส (autonomic nervous system)
The human nervous system is divided into the central and peripheral nervous systems. The [[central nervous system]] consists of the [[human brain|brain]] and [[spinal cord]], and plays a key role in controlling behavior. The [[peripheral nervous system]] is made up of all the neurons in the body outside of the central nervous system, and is further subdivided into the somatic and autonomic nervous systems. The [[somatic nervous system]] is made up of afferent neurons that convey sensory information from the sense organs to the brain and spinal cord, and efferent neurons that carry motor instructions to the muscles. The [[autonomic nervous system]] also has two subdivisions. The [[sympathetic nervous system]] is a set of nerves that activate what has been called the "fight-or-flight" response that prepares the body for action. The [[parasympathetic nervous system]] instead prepares the body to rest and conserve energy.
ระบบประสาทกายประกอบด้วยเซลล์ประสาทนำเข้า (afferent neuron) ที่ส่งข้อมูลการรับความรู้สึกจากอวัยวะรับความรู้สึกมายังสมองและไขสันหลัง และเซลล์ประสาทนำออกที่ขนส่งข้อมูลสั่งการออกไปยังกล้ามเนื้อหรืออวัยวะที่ตอบสนองอื่นๆ ระบบประสาทอิสระแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ [[ระบบประสาทซิมพาเทติก]] (sympathetic nervous system) ซึ่งเป็นชุดของเส้นประสาทที่กระตุ้นการตอบสนองแบบ ''สู้หรือหนี'' ("fight-or-flight" response) ส่วน[[ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก]] (parasympathetic nervous system) ตรงกันข้ามกันคือเตรียมความพร้อมร่างกายให้พักผ่อนและเก็บพลังงานเอาไว้
-->
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 22 ⟶ 20:
[[หมวดหมู่:ระบบประสาท]]
[[หมวดหมู่:ประสาทกายวิภาคศาสตร์| ]]
{{โครงกายวิภาค}}
 
[[bn:স্নায়ু-শারীরসংস্থান]]