ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Linglyz (คุย | ส่วนร่วม)
เฉพาะครั้งที่ 74 ถ่ายทอดช่องไทยรัฐทีวี เนื่องจาก ช่อง NBT ติดถ่ายทอดงานพิธีมาฆบูชา
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Linglyz (คุย | ส่วนร่วม)
ถ่ายทอดสดเฉพาะไทยรัฐทีวี เนื่องจาก NBT ติดถ่ายทอดพิธีเวียนเทียน เนื่องในวันมาฆบูชา
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 61:
'''งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์''' หรือ '''งานฟุตบอลประเพณีธรรมศาสตร์-จุฬาฯ''' (หากมหาวิทยาลัยใดเป็นเจ้าภาพจะได้รับเกียรติเป็นชื่อขึ้นต้น) เป็นการแข่งขัน[[ฟุตบอล]]ประเพณีระหว่าง[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]กับ[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] 2 มหาวิทยาลัยเก่าแก่ของ[[ประเทศไทย]] เริ่มจัดกิจกรรมครั้งแรกในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2477<ref name=":0" /> แต่ละมหาวิทยาลัยจะสลับกันเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันทุกปี ชื่อของมหาวิทยาลัยที่เป็นเจ้าภาพจะได้รับเกียรติให้ขึ้นต้นชื่องานฟุตบอลประเพณีในปีนั้น สถานที่จัดการแข่งขันจะไม่สลับตามเจ้าภาพ แต่จะจัดงานที่สนามศุภชลาศัย [[กรีฑาสถานแห่งชาติ]] เป็นประจำทุกปี กองเชียร์ของมหาวิทยาลัยเจ้าภาพจะใช้อัฒจันทร์ฝั่งทิศเหนือ อีกฝ่ายจะใช้อัฒจันทร์ฝั่งทิศใต้
 
กิจกรรมภายในงานอาจแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การแข่งขันฟุตบอล และกิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างนิสิตจุฬาฯ กับนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เช่น การเดินพาเหรด การเชียร์ [[การแปรอักษร]] ขบวนพาเหรดล้อการเมืองและกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์<ref>สวัสดิ์ จงกล. “แรกมีในเมืองไทยเกี่ยวกับฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ ธรรมศาสตร์: หอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.” ''เว็บไซต์ หอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.'' 18 มีนาคม 2553. http://www.memocent.chula.ac.th/article/ฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์/ (8 ธันวาคม 2559 ที่เข้าถึง).</ref> ในทุกๆ ปี บรรยากาศภายในงานจะถ่ายทอดสดผ่านทาง [[โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย]] และ [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย]] ตามลำดับ ยกเว้น ครั้งที่ 70 (มีการถ่ายทอดสดผ่านทางช่อง[[ไบรต์ทีวี]]ร่วมอยู่ด้วย) และ ครั้งที่ 72 และ 74 ที่ถ่ายทอดสดเฉพาะช่อง[[ไทยรัฐทีวี]]ในระบบความคมชัดสูง<ref>www.thairath.co.th. (2018). จุฬาฯ-มธ. พร้อมลุยบอลประเพณี ไทยรัฐทีวี ถ่ายสด 3 ก.พ.. [online] Available at: https://www.thairath.co.th/content/1174057 [Accessed 2 Feb. 2018].</ref> รายได้หลังหักค่าใช้จ่ายจากการจัดงานทุกปีจะนำไปบริจาคเป็นสาธารณกุศล<ref name=":0">สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์. “งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์: สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ .” ''เว็บไซต์ สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์.'' http://www.cuaa.chula.ac.th/activities/cu-tu-football (2559 ธันวาคม 7 ที่เข้าถึง).</ref>
 
[[สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา|สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา]]ทรงเป็นผู้อัญเชิญธรรมจักร สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เข้าสู่สนามศุภชลาศัย เมื่อครั้งยังทรงศึกษาที่[[คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ในงานฟุตบอลประเพณีครั้งที่ 54<ref>Tribune, T. (2017). โปรดเกล้าฯตั้งพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาทรงดำรงตำแหน่งอัยการจ.ระยอง. [online] Thaitribune.org. Available at: http://www.thaitribune.org/contents/detail/378?content_id=26393&rand=1488822210 [Accessed 31 Jan. 2018].</ref> [[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา]]ทรงเป็นผู้อัญเชิญ[[พระเกี้ยว]]สัญลักษณ์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อครั้งยังทรงศึกษาที่[[คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ในงานฟุตบอลประเพณีครั้งที่ 62<ref>Prachachat Online. (2009). ชมภาพ ′เจ้าหญิงแฟชั่น′ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีฯรับพระราชทานปริญญาบัตรเกียรตินิยมอันดับ 1 จากจุฬาฯ. [online] Available at: http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1247140268 [Accessed 31 Jan. 2018].</ref>