ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิขงจื๊อสมัยใหม่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Espeerasin (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Espeerasin (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3:
==ประวัติศาสตร์==
 
ยุคแรกของลัทธิขงจื๊อสมัยใหม่ขงจื่อสมัยใหม่ (2464-2492) เป็นเพื่อการตอบสนองต่อขบวนการเคลื่อนไหวสี่พฤษภาคม และมีท่าทีต่อต้านลัทธิขงจื๊อขงจื่อ ลัทธิขงจื๊อขงจื่อถูกโจมตีว่าไม่เป็นวิทยาศาสตร์และขัดต่อความก้าวหน้าของจีนสมัยใหม่ สิ่งหนึ่งที่น่าสังเกตในช่วงเวลานี้คือ สยฺงฉือลี่ ผู้ซึ่งศึกษาพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้งในช่วงเยาว์วัย แต่่ต่อมาเขาก็ได้คิดค้นระบบการปฏิรูปกรอบความคิดเดิมของลัทธิขงจื๊อขงจื่อ เขาได้รับอิทธิพลแนวคิดจากสำนักหวางหยางหมิง เขาได้พัฒนาระบบอภิปรัชญาขึ้นมาสำหรับขบวนการขงจื๊อขงจื่อสมัยใหม่และเชื่อว่าการเรียนอารยธรรมจีนนั้นเหนือกว่าการเรียนอารยธรรมตะวันตก อีกประการหนึ่ง เฝิงโหย่วหลานได้ศึกษาแนวคิดสำนักขงจื๊อขงจื่อใหม่ของจูซี และเขาพยายามฟื้นฟูปรัชญาจีนบนพื้นฐานของปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่
 
เมื่อจีนเริ่มต้นการปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ในปี ค.ศ.1949 ผู้นำกลุ่มปัญญาชนหลายคนเดินทางออกจากแผ่นดินใหญ่ไปยังไต้หวัน ฮ่องกงและสหรัฐอเมริกา บุคคลสำคัญในรุ่นที่สองนี้ (ค.ศ.1950-1979) ได้แก่ ถังจวินอี้ (唐君毅) โหมวจงซาน (牟宗三) และ สวีฟู่กวาน (徐复观) ทั้งสามท่านนี้ล้วนเป็นลูกศิษย์ของ สยฺงฉือลี่ (熊十力) โดยเฉพาะโหมวจงซานซึ่งมีความเชี่ยวชาญในด้านปรัชญาจีนโบราณและได้โต้แย้งว่าแนวคิดของค้านท์มีแนวโน้มเป็นลัทธิขงจื๊อขงจื่อแห่งโลกตะวันตก ทั้งสามท่านนี้และจางจวฺินม่าย (Carsun Chang) ได้ตีพิิมพ์พิมพ์ประกาศลัทธิขงจื๊อสมัยใหม่ขงจื่อสมัยใหม่ ในปี 1958 ซึ่งได้รวบรวมความเชื่อและภาพวาดที่น่าสนใจเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวทางปรัชญา
 
ในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา ผู้แทนแกนนำขบวนการขงจื๊อขงจื่อสมัยใหม่นอกประเทศจีนเป็นลูกศิษย์ของโหมวจงซาน ตู้เว่ยหมิง ผู้ซึ่งเป์็นเป็นหนึ่งในนักปรัชญาขงจื๊อขงจื่อสมัยใหม่ที่โดดเด่นที่สุด ได้สนับสนุนแนวคิดที่ว่าลัทธิขงจื๊อขงจื่อแบ่งออกเป็น 3 ยุค ได้แก่ : ลัทธิขงจื๊อขงจื่อดั้งเดิมยุคก่อนฮั่น ลัทธิขงจื๊อขงจื่อใหม่ยุคซ่ง-หมิง และลัทธิขงจื๊อสมัยใหม่ขงจื่อสมัยใหม่ นักปรัชญารุ่นที่สามนี้ได้นำรากฐานของลัทธิขงจื๊อขงจื่อมาใช้เป็นเครื่องมือในบริบทนอกเอเชีย ซึ่งเห็นได้จาก ลัทธิขงจื๊อขงจื่อแบบบอสตัน(Boston Confucianism) และนักปรัชญาขงจื๊อขงจื่อตะวันตกท่านอื่น ๆ ได้แก่ วิลเลียม ทีโอดอร์ เดอ แบรี่ (Wm. Theodore de Bary) <ref name="Bersciani">{{cite book |last = Bresciani |first = Umberto |title = Reinventing Confucianism: The New Confucian Movement |publisher = Taipei Ricci Institute |year = 2001 |location= Taipei|isbn = 978-957-9390-07-1}}</ref>
 
==ลัทธิขงจื๊อสมัยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่==