ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนเซนต์คาเบรียล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
<br />​
== ประวัติของโรงเรียน ==
ในปี [[พ.ศ. 2461|พ.ศ. 2463]]
 
ภายหลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] สงบลง [[โรงเรียนอัสสัมชัญ]]ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว [[เจษฎาจารย์มาร์ติน เดอ ตูรส์]] และคณะที่ปรึกษา มีแนวความคิดที่จะเปิดโรงเรียนแห่งใหม่ในกรุงเทพฯ เพื่อรองรับการขยายตัวของโรงเรียนอัสสัมชัญ ประกอบกับท่านได้รับข้อเสนอ จากบาทหลวงบรัวซา อธิการ[[โบสถ์นักบุญฟรังซิสซาเวียร์]] <!-- (Reverend Father Brozat the Parish Priest of Saint Francis Xavier Church in Samsen) --> เสนอให้ที่ดินบริเวณถนนสามเสน เป็นสถานที่ก่อสร้าง
 
ขณะที่แรงงานกรรมกรก็เป็นสิ่งหายากเช่นกัน
การขยายตัวมาเปิดโรงเรียนเซนต์คาเบรียล ในฐานะสาขาที่สองของ[[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]] มิได้เกิดขึ้นท่ามกลางสภาพบ้านเมืองปกติ แม้ว่าประเทศไทยจะอยู่ห่างจากสงครามครั้งนั้นมาก แต่ผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม ทำให้วัสดุที่จำเป็นสำหรับการก่อสร้างขาดแคลน และมีราคาแพง ขณะที่แรงงานกรรมกรก็เป็นสิ่งหายากเช่นกัน
 
เจษฎาจารย์มาร์ตินจึงได้เริ่มดำเนินการก่อสร้างโรงเรียนเซนต์คาเบรียล ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1920]] โดยท่านเป็นนายช่างสถาปนิกออกแบบให้คำปรึกษาเอง
และมีนายเบเกอแลง (Mr. Be'quelin) เป็น[[วิศวกร]] ในขณะที่ดำเนินการก่อสร้างโรงเรียนอยู่นั้น ได้ใช้บ้านของนายเบอลี่ <!-- (Berli House) --> เป็นโรงเรียนชั่วคราว ในปีแรกมีนักเรียนทั้งสิ้น 141 คน
 
คน
โรงเรียนสร้างเสร็จสมบูรณ์ในเดือนกุมภาพันธ์ [[ค.ศ. 1922]] มีตึกหลังใหญ่เรียกว่า "ตึกแดง" โดยส่วนที่เป็นไม้ใช้[[ไม้สัก]]ทั้งสิ้น ซึ่งบริษัทบอมเบย์เบอรม่า เป็นผู้ติดต่อส่งวัสดุต่าง ๆ ในการก่อสร้าง คิดตามบัญชีที่บันทึกไว้ทั้งสิ้นเป็นเงินประมาณ หนึ่งแสนเศษ ในระยะแรกรู้จักกันในนาม "โรงเรียนอัสสัมชัญ สามเสน" และได้รับบุคลากรจากโรงเรียนอัสสัมชัญไปช่วยก่อร่างสร้างตัว ด้วยเหตุนี้เองในปีแรกจึงมีนักเรียนมาสมัครเป็นจำนวนถึง 150 คน
 
=== สถานที่ตั้ง ===
<br />
[[ถนนสามเสน]] แขวงวชิรพยาบาล [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] ที่ตั้งโรงเรียนมีบริเวณติดต่อกับชุมชนที่หลากหลายมาก โดยอาณาเขตด้านหลังโรงเรียนติดกับ[[โรงเรียนเซนต์ฟรังซิสซาเวียร์คอนแวนต์]] อ้อมมาทางด้านซ้าย ทางซอยมิตรคาม (สามเสน 13) จะติดกับที่ดินของโบสถ์เซนต์ฟรังซิสซาเวียร์ ซึ่งจะมีบ้านเรือนร้านค้าทางด้านติดถนนสามเสน แล้วถัดมาในซอยมิตรคามก็จะเป็นสุสานของโบสถ์ฯ และที่พัก ฝั่งตรงข้ามกับเขตโรงเรียนเดิม ก็รายล้อมด้วยสถานศึกษาอื่น ๆ ในละแวกโรงเรียนได้แก่ [[มหาวิทยาลัยสวนดุสิต]] [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา]] [[โรงเรียนวัดราชาธิวาส]] สมาคมนักเรียนเก่าเบญจมบพิตรในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ[[หอสมุดแห่งชาติ]]
 
== ปรัชญา ==