ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาย่อย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{about|สำนวนและลักษณะการใช้คำทางภาษา|สำหรับวิธีการออกเสียงพูด|สำเนียง}}
<small>'''ภาษาถิ่น''' ({{lang-en|dialect}}) มีสองความหมายคือในแง่ทางการเมืองและในแง่ภาษาศาสตร์</small>
 
<small>ในแง่นัก[[รัฐศาสตร์]]หมายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง[[ภาษาราชการ|ภาษารัฐ]]และภาษาอื่นๆในประเทศหากอยู่ใน[[ตระกูลของภาษา|ตระกูลภาษา]]เดียวกันให้ถือเป็นภาษาถิ่น เช่น ในรัฐบาลจีนยืดถือภาษาจีนกลางเป็นภาษารัฐและยืดถือ[[ภาษาจีนกวางตุ้ง|ภาษากวางตุ้ง]], [[ภาษาแคะ]], [[ภาษาแต้จิ๋ว]], [[ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน|ภาษาฮกเกี้ยน]], [[ภาษาอู๋|ภาษาฮงิ่ว]] หรือ [[กลุ่มภาษาจีน]]อื่นเป็นภาษาถิ่นเป็นต้น ส่วนในรัฐบาลไทยยืดถือ[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]]เป็นภาษารัฐ และยืดถือ[[ภาษาไทยถิ่นเหนือ|ภาษาไทยเหนือ]], [[ภาษาไทยถิ่นใต้|ภาษาไทยใต้]], [[ภาษาผู้ไท]] และ [[ภาษาลาว]] เป็นภาษาถิ่น แต่เนื่องจากว่าภาษาลาวเป็นภาษารัฐของประเทศลาว ทางรัฐบาลไทยจึงกำหนดชื่อใหม่ว่า [[ภาษาไทยถิ่นอีสาน|ภาษาอีสาน]] และในมุมกลับรัฐบาลประเทศลาวเรียกภาษาลาว (รวมทั้งอีสาน) ว่าเป็นภาษารัฐและเรียกภาษาไทยกลางว่าเป็นภาษาถิ่น โดยหากพื้นที่ของผู้ใช้ภาษานั้นกว้างก็จะมีภาษาถิ่นหลากหลาย และมีภาษาถิ่นย่อย ๆ ลงไปอีก ซึ่งภาษาถิ่นนั้นมักเป็นเรื่องของ[[ภาษาพูด]]หรือภาษาท่าทาง มากกว่า</small>
 
<small>ในแง่นัก[[ภาษาศาสตร์]]หมายถึงความผันผวนของภาษาใดภาษาหนึ่งโดยพิจารณาคุณลักษณะในเชิงภาษาเท่านั้น ตัวอย่างเช่น ภาษาลาวและอีสานถือเป็นภาษาเดียวกัน และที่กล่าวมาข้างต้นภาษาอื่นไม่ใช่ภาษาถิ่นซึ่งกันและกัน สำหรับภาษาไทยกลางโดยทั่วไปนักภาษาศาสตร์แบ่งเป็นภาษาถิ่นได้ห้าหมวดใหญ่ได้แก่ ภาษาไทยที่ราบภาคกลาง ภาษาไทยเมืองหลวง ภาษาไทยภาคกลางตอนบน ภาษาไทยตะวันตกเฉียงใต้ และ [[ไทยโคราช]] แนวคิดในการจำแนกภาษาถิ่นนั้น มักพิจารณาจาก</small>
 
*<small> ลักษณะเชิงสังคม ซึ่งเป็นลักษณะแปรผันอย่างหนึ่งของภาษา ที่พูดกันในชนชั้นสังคมหนึ่งๆ</small>
*<small> ภาษาหนังสือ</small>
*<small> [[ภาษาเฉพาะวงการ]]</small>
*<small> [[ภาษาสแลง]]</small>
 
== ภาษาถิ่นหรือต่างภาษา ==
=== ความเข้าใจร่วมกัน ===
มีสิ่งหนึ่งที่สามารถแยกระดับความต่างว่าเป็นภาษาถิ่นหรือต่างภาษานั่นคือความเข้าใจร่วมกัน หากความหลากหลายระหว่างของสองอย่างซึ่งถ้าหากขาดแคลนความรู้เกี่ยวกับภาษาคู่กรณีอาจถูกเรียกว่าคนละภาษาได้ เช่นคนไทยภาคอื่นที่ไม่ใช่ภาคอีสานมักรู้ภาษาลาวด้วยแต่ไม่อยู่ในลักษณะการรับรู้ภาษาแบบเจ้าของภาษาจึงถือเป็นคนละภาษากับภาษาไทยกลาง<ref name="Comrie2018">{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=lR9WDwAAQBAJ&pg=PT24|title=The World's Major Languages|last=Comrie|first=Bernard|publisher=Routledge|year=2018|isbn=978-1-317-29049-0|editor=Bernard Comrie|pages=2–3|chapter=Introduction}}</ref> อย่างไรเสีย วิธีนี้อาจมีข้อจำกัดด้าน[[:en:dialect continuum|ความเชื่อมต่อทางภาษา]] เช่นบางกลุ่มอาจเข้าใจร่วมกันแต่บางกลุ่มไม่เข้าใจเช่นภาษาไทยถิ่นเมืองหลวงสามารถและภาษาไทยเหนือถิ่นเชียงใหม่ไม่สามารถเข้าใจร่วมกันได้ แต่ผู้ใช้ภาษาไทยกลางที่ราบภาคกลางตอนบนอาจเข้าใจได้ทั้งถิ่นเมืองหลวงและถิ่นเชียงใหม่<ref name="Comrie2018" />
นอกเหนือปัญหานั้น การจำกัดความเรื่องความเข้าใจร่วมกันยังมีข้อจำกัดจากบรรทัดฐานทางสังคมอีกด้วย<ref>{{cite book
| surname1 = Chambers | given1 = J. K. | author-link1 = Jack Chambers (linguist)
| last2 = Trudgill | first2 = Peter | author-link2 = Peter Trudgill
| title = Dialectology
| publisher = Cambridge University Press | edition = 2nd | year = 1998
| isbn = 978-0-521-59646-6
| page = 4
| ref = harv
}}</ref>
 
=== การตีความของนักภาษา ===
[[ไฟล์:West Germanic dialect diagram.svg|thumb|right|upright=2|ความหลากหลายทางท้องถิ่นของกลุ่มภาษาเยอรมันตะวันตกที่ตรงต่อ[[ภาษาดัตช์|ภาษาเนเธอร์แลนด์]]และ[[ภาษาเยอรมัน|ภาษาดอยทช์]]ตามสภาพท้องที่ที่พูด{{sfnp|Chambers|Trudgill|1998|p=10}}]]
หลายๆครั้งที่มีการตีความเชิงอคติของกลุ่มนักภาษาศาสตร์ โดยการระบุถึงความผันแปรจาก[[:en:autonomy and heteronomy (sociolinguistics)|ภาษาทางการ]] เช่นภาษาเยอรมันมาตรฐานคือระบบประดิษฐ์ขึ้นเองโดยไม่ได้ภาษาถิ่นใดถิ่นหนึ่งเป็นภาษารัฐ เหมือนกับภาษาไทยกลางมาตรฐานที่หมายถึงถิ่นอยุธยาเท่านั้น หรือภาษาจีนมาตรฐานที่เอาสำเนียงถิ่น[[:en:Luanping County|ลวานผิง]]แต่สำนวนถิ่น[[ปักกิ่ง]] ขณะเดียวกันชาวเยอรมันทุกคนใช้ภาษาเยอรมันมาตรฐานควบคู่กับภาษาถิ่นตัวเองอย่างเจ้าของภาษาและบางครั้งบางภาษาถิ่นก็ไม่น่าจะนับว่าเป็นภาษาดอยทช์เช่นภาษาถิ่น[[:en:Westphalian language|เวสต์ฟาเลียน]]หรือภาษาถิ่น[[:en:East Franconian German|ฟรังโกเนียตะวันออก]]{{sfnp|Chambers|Trudgill|1998|p=10}}ตรงข้ามกันภาษาถิ่นบางแห่งใน[[ประเทศเนเธอร์แลนด์]]อย่างถิ่น[[:en:Dutch Low Saxon|ดัตช์ซัคเซิน]]กลับไปคล้ายคลึงกับเวสต์ฟาเลียนเอามากกว่าภาษาเนเธอร์แลนด์
 
=== การแทรงแซงทารการเมือง ===
ในหลายๆสังคม กลุ่มชนชั้นอำนาจทางสังคมมักเป็นผู้กำหนดความเป็นมาตรฐานโดยแยกความหลากหลายอย่างอื่นออกจากกัน เป็นผลให้ภาษาถิ่นอื่นอยู่ในสถานะสังคมที่ต่ำต้อยกว่า หรือในความหมายอีกอย่างของคำว่าภาษาถิ่นมักหมายถึงถ้า:
* หากไม่มี[[:en:Standard variety|แบบฉบับมาตรฐาน]] หรือ [[:en:Codification (linguistics)|แบบกำกับอักษร]]
บรรทัด 47:
อย่างไรเสีย ในแง่รัฐศาสตร์ย่อมไม่ยอมรับในจุดนี้ว่าทั้งสองสำนวนถิ่นนี้คือคนละภาษาถิ่น โดย[[เหมารวม]]ว่าเป็นสำนวนภาษาไทยมาตรฐานทั้งคู่
 
=== ศัพท์เฉพาะ ===
โดยหลักการทั่วไปของนักภาษาศาสตร์ทุกคนไปในทิศทางเดียวกันหมด ซึ่งล้วนขัดแย้งกับแนวคิดทางการเมืองโดยสิ้นเชิง นั่นคือทุกคนล้วนใช้ภาษาถิ่นใดภาษาถิ่นหนึ่งของภาษานั้นๆ เช่นบุคคลที่พื้นเพเป็นชาว[[อำเภอเบตง|เบตง]], [[อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี|เมืองสุราษฎร์ธานี]], [[อำเภอโพธาราม|โพธาราม]], [[อำเภอบ้านโป่ง|บ้านโป่ง]] หรือ [[เมืองพัทยา|เขตเทศบาลพัทยา]] ฯลฯ ล้วนโตมาในสภาพแวดล้อมแบบภาษาไทยเมืองหลวงเป็นภาษาถิ่น ในขณะที่บริเวณใกล้เคียงอย่าง[[อำเภอสัตหีบ|สัตหีบ]] หรือกระทั่ง [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] กลับโตมาในสภาพแวดล้อมให้ใช้ภาษาไทยมาตรฐานเป็นภาษาถิ่น เช่นกันคือชาว[[จังหวัดขอนแก่น]] และ [[จังหวัดอุดรธานี]] โตมาในสภาพแวดล้อมที่ใช้ภาษาลาวถิ่นอีสานมาตรฐานเป็นภาษาถิ่น ส่วนชาว[[จังหวัดหนองคาย]]ใช้ภาษามาตรฐานสปป.ลาวเป็นภาษาถิ่น โดยคำว่าภาษาลาวและภาษาไทยกลางจะถูกแยกออกจากกันอย่างชัดเจนสำหรับนักภาษศาสตร์เพียงมี[[:en:Mutual intelligibility|ความเข้าใจร่วมกัน]]แค่บางส่วน
 
บรรทัด 54:
เนื่องด้วยนิยามนี้นักรัฐศาสตร์และนักภาษาศาสตร์ให้กำหนดความต่างกันอย่างสิ้นเชิง หลายๆครั้งนักภาษาศาสตร์มักหลบความกำกวมโดยใช้คำว่า[[:en:variety (linguistics)|ความผันผวนทางภาษา]]<ref name=finegan>{{cite book |title=Language: Its Structure and Use|edition=5th |last=Finegan |first=Edward |year=2007 |publisher= Thomson Wadsworth|location=Boston, MA, USA|isbn=978-1-4130-3055-6 |page=348}}</ref>หรืออีกคำหนึ่งคือ "languoid" ซึ่งไม่แยกลำดับกลุ่มความต่างทางภาษาลงไป<ref>[http://www.glottopedia.org/index.php/Languoid "Languoid"] at ''Glottopedia.com''</ref>
 
== ภาษาถิ่นกับสำเนียง ==
[[:en:John Lyons (linguist)|จอห์น ลียง]]เขียนไว้ว่า "นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ [...] ให้ความนิยมแตกต่างของคำว่าสำเนียงเป็นอื่นจากคำว่าความแตกต่างของภาษา"<ref name="Lyons">{{cite book |last=Lyons |first=John |title=Language and Linguistics |date=1981 |publisher=Cambridge University Press |url=https://books.google.com/books?id=8Wg57a3DdYYC&pg=PA25&dq=language+standard+dialect |page=25 |ref=harv}}</ref>
ในความหมายทั่วไป คำว่า "[[สำเนียง]]" หมายถึงความผันผวนทางการออกเสียงขณะที่ "ภาษาถิ่น" หมายถึงลักษณะเฉพาะตัวของการใช้คำ, สำนวน และ หลักภาษา{{sfnp|Lyons|1981|p=268}} หากเทียบกับภาษาไทยกลาง เช่นถิ่นอยุธยา (ไทยมาตรฐาน) และถิ่นสุพรรณบุรี ถือเป็นภาษาไทยถิ่นที่ราบภาคกลางทั้งคู่ เพราะต่างกันแค่วรรณยุกต์ จึงถือเป็นความต่างเพียงสำเนียง หรือเช่นถิ่นกรุงเทพและถิ่นบ้านดอนถือเป็นภาษาไทยเมืองหลวงทั้งคู่เพราะมีสำนวนทางภาษาโดยทั่วไปคือนำภาษาแต้จิ๋วและภาษาฮกเกี้ยนมาแปลงเป็นคำไทย เพียงต่างแต่ตัวอักษร "ย" ที่ถิ่นนึงออกเสียง [ɹ̠˔]~[ʒ] และอีกถิ่นออกเสียง [ɹ̠˔]~[dʑ]; ในขณะที่ภาษาไทยถิ่นอยุธยาเรียกว่า "ดวงแย่จังเลยวันนี้" แต่ภาษาไทยถิ่นกรุงเทพเรียกว่า "วันนี้ดวงซวยฉิบเป๋งดีนะ" ([[ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน|ภาษาจีนกลางถิ่นไต้หวัน]]:今天好衰喔!) สองสถานที่นี้ถือเป็นต่างถิ่นกันเพราะมีสำนวนทางภาษาที่ต่างกันชัดเจน
 
ในแง่รัฐศาสตร์อิงเกณฑ์หลักการทาง[[ชาตินิยม]] โดยทุกภาษาที่เป็นภาษารัฐถือเป็นภาษาถิ่นเดียว ส่วนคำว่า "ภาษาถิ่น" กับ "สำเนียง" ในแง่ภาษาศาสตร์จะถูกเรียกรวมกันว่า "สำเนียง" ในแง่ทางรัฐศาสตร์ทั้งคู่ เช่นในภาษาไทยกลางทั้งถิ่นที่ราบภาคกลาง, ถิ่นเมืองหลวง, ถิ่นภาคกลางตอนบน, ถิ่นตะวันตกเฉียงใต้ ถือเป็นภาษาถิ่นเดียวกันทั้งสิ้นเรียกว่า "ภาษาไทยถิ่นกลาง" ส่วน[[ไทยโคราช]]นั้นได้รับการยกเว้นเพราะปัจจัยทางการเมือง สำหรับภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษารัฐนักภาษาศาสตร์จะไม่ให้นิยามความสำคัญใดๆทั้งสิ้น
== ดูเพิ่ม ==
 
[[หมวดหมู่:ภาษาถิ่น| ]]