ผลต่างระหว่างรุ่นของ "90377 เซดนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ปิดและบล็อครายชื่อผู้เข้าใช้งานร่วมในระยบบริการขอ งอุปกรณ์เครื่องนี้แจ้งเป็นแสปม จากผู้ใช้อุปกรณ์ นี้
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
| กึ่งแกนเอก = {{val|506.8|u=AU}}<ref name="Malhotra_Volk_Wang"/><ref name="barycenter" /><br />{{val|7.573|e=10|u=km}}
| ความเยื้องศูนย์กลาง = {{val|0.85491|.00029}}
| คาบดาราคติ = ≈&thinsp;{{val|11400|u=[[ปีจูเลียน (ดาราศาสตร์)|yr]]}}<ref name="barycenter" />{{refn|1=เมื่อทราบ[[ความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร]]ของวัตถุนี้ [[จุดเริ่มยุค]]ที่แตกต่างกันให้วิธีแก้ปัญหาที่มีศูนย์กลางที่ดวงอาทิตย์ ไร้การรบกวน และเหมาะสมที่สุดกับ[[ปัญหาสองวัตถุ]]ของคาบการโคจรที่แตกต่างกัน โดยใช้จุดเริ่มยุค 1990 เซดนามีคาบการโคจรอยู่ที่ 12,100 ปี<ref name="DES" /> แต่เมื่อใช้จุดเริ่มยุค 2017 เซดนามีคาบการโคจรอยู่ที่ 10,900 ปี<ref name="jpldata" /> สำหรับวัตถุที่วงโคจรเยื้องมาก พิกัดแบรีเซนเตอร์ของดวงอาทิตย์จะเสถียรมากกว่าพิกัดที่ศูนย์กลางดวงอาทิตย์<ref name="Kaib2009" /> โดยใช้ [[JPL Horizons On-Line Ephemeris System|JPL HorizonววsHorizons]] คาบการโคจรอิงตามแบรีเซนเตอร์อยู่ที่ประมาณ 11,400 ปี<ref name="barycenter" />|name=footnoteG|group=lower-alpha}}
| อัตราเร็วเฉลี่ยในวงโคจร = 1.04 กิโลเมตร/วินาที
| มีนอนิมัลลี = {{val|358.163|.0054|u=°}}
บรรทัด 32:
| อัตราส่วนสะท้อน = {{val|0.32|0.06}}<ref name=herschel />
| อุณหภูมิเดี่ยว = ≈ 12 [[เคลวิน|K]]&nbsp;''(see [[list of Solar System objects in hydrostatic equilibrium#Manual calculations (unless otherwise cited)|note]])''
| ชนิดสเปกตรัม = ([[วัตถุพ้นดาวเนปจูน|แดง]]) {{nowrap|1=B−V=1.24}}; {{nowrap|1=V−R=0.78}}<ref name="TelerTegler" />
| โชติมาตรปรากฏ = 21.1<ref name="AstDys" /><br />20.5&nbsp;([[จุดปลายระยะทางวงโคจร|จุดที่ใกล้ที่สุด]])<ref name="Horizons2076" />
| โชติมาตรสัมบูรณ์ = {{val|1.83|0.05}}<ref name=herschel /><br />1.6<ref name="jpldata" />
| อื่น ๆ =
เส้น 38 ⟶ 39:
'''90377 เซดนา''' ({{lang-en|Sedna}}) เป็น[[ดาวเคราะห์น้อย]]ขนาดใหญ่ใน[[เซดนอยด์|บริเวณส่วนนอกของระบบสุริยะ]]ซึ่งในปี พ.ศ. 2558 อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 86 [[หน่วยดาราศาสตร์]] (AU) หรือ 1.29 × 10<sup>10</sup> กิโลเมตร อยู่ห่างออกไปมากกว่า[[ดาวเนปจูน]]เกือบสามเท่า กระบวนการ[[สเปกโทรสโกปี]]เปิดเผยว่าพื้นผิวของเซดนามีองค์ประกอบคล้ายกับ[[วัตถุพ้นดาวเนปจูน]]อื่น ๆ บางชิ้น โดยเป็นส่วนผสมของ[[น้ำ]] [[มีเทน]] และ[[ไนโตรเจน]][[สารระเหย|แข็ง]]กับ[[โทลีน]]จำนวนมาก ผิวของเซดนาเป็นหนึ่งในผิวดาวที่มี[[วัตถุพ้นดาวเนปจูน|สีแดงมากที่สุด]]ท่ามกลางวัตถุอื่นในระบบสุริยะ เซดนา[[รายชื่อวัตถุที่อาจเป็นดาวเคราะห์แคระ|อาจเป็นดาวเคราะห์แคระ]] ในบรรดาวัตถุพ้นดาวเนปจูนทั้งแปดที่ใหญ่ที่สุด เซดนาเป็นวัตถุเดียวที่ไม่พบดาวบริวาร<ref name="PorterTwitter"/><ref name = "Lakdawalla2016a"/>
 
วงโคจรส่วนใหญ่ของเซดนาอยู่ไกลออกจากดวงอาทิตย์ไปมากกว่าตำแหน่งปัจจุบัน ซึ่งคาดว่าตำแหน่งที่ไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุดจะอยู่ห่างออกไปถึง 937 AU<ref name="barycenter"/> (31 เท่าของระยะของดาวเนปจูน) ทำให้เซดนาเป็นวัตถุหนึ่งที่ไกลที่สุดใน[[ระบบสุริยะ]] นอกเหนือจาก[[ดาวหางคาบยาว]]{{refn|1={{As of|2014}} เซดนาอยู่ที่ประมาณ 86.3&nbsp;AU จากดวงอาทิตย์<ref name="AstDys" /> อีริส ดาวเคราะห์แคระที่มีมวลมากที่สุด และ {{mpl-|225088|2007 OR|10}} วัตถุที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะที่ไม่มีชื่อ ขณะนี้อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่าเซดนาที่ 96.4&nbsp;AU และ 87.0&nbsp;AU ตามลำดับ<ref name="AstDys-Eris" /> อีริสอยู่ใกล้กับจุดที่ไกลที่สุด (อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากที่สุด) ขณะที่เซดนากำลังเข้าใกล้[[จุดปลายระยะทางวงโคจร|จุดที่ใกล้ที่สุด]]ในปี 2619 (อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด)<ref name="Horizons2076" /> เซดนาจะแซงอีริส กลายเป็นวัตถุที่ไกลที่สุดในระบบสุริยะในปี 2657 แต่วัตถุที่[[รายชื่อวัตถุที่อาจเป็นดาวเคราะห์แคระ|อาจเป็นดาวเคราะห์แคระ]]อย่าง {{mpl-|225088|2007 OR|10}} แซงเซดนาไปได้ไม่นาน และจะแซงอีริสในปี พ.ศ. 2588<ref name="Horizons2076" />|group=lower-alpha}}<ref group=lower-alpha name=footnoteF>ดาวเคราะห์แคระที่เป็นไปได้อย่าง [[2014 FE72]] มีคาบการโคจรอยู่ที่ ~90,000 ปี และ[[วัตถุระบบสุริยะขนาดเล็ก]] เช่น {{mpl|(308933) 2006 SQ|372}}, {{mpl|2005 VX|3}}, {{mpl|(87269) 2000 OO|67}}, {{mpl|2002 RN|109}}, {{mpl|2007 TG|422}} และดาวหางหลายดวง (เช่น [[ดาวหางใหญ่แห่งปี พ.ศ. 2120]]) มีวงโคจรที่ใหญ่กว่าเช่นกัน สำหรับประเภทหลัง เฉพาะ {{mp|(308933) 2006 SQ|372}}, {{mp|(87269) 2000 OO|67}}, และ {{mp|2007 TG|422}} มีจุดใกล้ที่สุดอยู่ไกลกว่าวงโคจรดาวพฤหัสบดี จึงกลายเป็นข้อถกเถียงกันว่าวัตถุเหล่านี้อาจเป็นดาวหางที่ถูกจัดผิดหมวดหมู่</ref>
 
เซดนามีวงโคจรที่ยาวและยืดเป็นพิเศษ โดยใช้เวลาโคจรหนึ่งรอบประมาณ 11,400 ปี และมีจุดใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดที่ 76 AU สิ่งนี้นำมาสู่ความคิดเกี่ยวกับต้นกำเนิดของเซดนา [[ศูนย์ดาวเคราะห์น้อย]]จัดเซดนาให้อยู่ใน[[แถบหินกระจาย]] ซึ่งเป็นกลุ่มของวัตถุที่มีวงโคจรยืดยาวออกไปไกลเนื่องด้วยแรงโน้มถ่วงจากดาวเนปจูน การจัดให้เซดนาอยู่ในแถบหินกระจายนี้กลายเป็นข้อถกเถียง เพราะเซดนาไม่เคยเข้ามาใกล้ดาวเนปจูนมากพอที่จะเหวี่ยงกระจายเซดนาออกไปด้วยแรงโน้มถ่วงจากดาวเนปจูน ทำให้นักดาราศาสตร์บางคนเชื่อว่าเซดนาเป็นวัตถุหนึ่งใน[[เมฆออร์ต]]ชั้นใน แต่บางคนก็เชื่อว่าเซดนามีวงโคจรที่ยืดยาวแบบนี้เนื่องด้วยดาวฤกษ์ที่เฉียดผ่านเข้ามาใกล้ โดยอาจเป็นหนึ่งในดาวของกระจุกดาวของดวงอาทิตย์ตอนเกิด ([[กระจุกดาวเปิด]]) หรือระบบดาวเคราะห์อื่นอาจจับยึดไว้ สมมติฐานอีกอย่างหนึ่งเสนอว่าวงโคจรของเซดนาได้รับผลกระทบจาก[[ดาวเคราะห์พ้นดาวเนปจูน|ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ดวงหนึ่งที่พ้นวงโคจรดาวเนปจูน]]<ref name="Mike"/>
 
[[ไมเคิล อี. บราวน์|ไมเคิล บราวน์]] นักดาราศาสตร์ผู้ค้นพบเซดนาและดาวเคราะห์แคระ[[อีริส]] [[เฮาเมอา]] และ[[มาคีมาคี]] คิดว่าเซดนาเป็นวัตถุพ้นดาวเนปจูนในปัจจุบันที่สำคัญที่สุดในทางวิทยาศาสตร์ เพราะว่าการทำความเข้าใจในวงโคจรที่ไม่เสถียรนี้เป็นไปได้ที่จะให้ข้อมูลอันมีค่าเกี่ยวกับต้นกำเนิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะในช่วงแรก<ref name="fussman"/><ref>Chang, Kenneth, [https://www.nytimes.com/2016/01/21/science/space/ninth-planet-solar-system-beyond-pluto.html?emc=edit_au_20160120&nl=afternoonupdate&nlid=68634180&_r=0 ''Ninth Planet May Exist Beyond Pluto, Scientists Report''], New York Times, 21 January 2016, page A1</ref>
 
== ประวัติ ==
เส้น 45 ⟶ 50:
 
=== การตั้งชื่อ ===
ในระยะแรก ไมก์ บราวน์ ตั้งชื่อเล่นให้กับเซดนาว่า "[[ฟลายอิงดัตช์แมน|เดอะฟลายอิงดัตช์แมน]]" หรือแค่ "ดัตช์" ตามชื่อเรือผีสิงในตำนาน เนื่องด้วยการเคลื่อนที่ที่ช้าที่ทำให้ทีมงานรู้ว่าดาวนั้นมีตัวตนอยู่<ref>{{cite book |title=How I Killed Pluto And Why It Had It Coming |author=[[Michael E. Brown]] |publisher=Spiegel & Grau |year=2012 |location=New York |isbn=978-0-385-53110-8 |page=96}}</ref> สำหรับชื่ออย่างเป็นทางการ ไมก์ บราวน์ เลือกชื่อเซดนา ชื่อจากเทพปกรณัมอินุต ซึ่งบราวน์เลือกด้วยเหตุผลส่วนหนึ่งว่าอินุตเป็นกลุ่มชนขั้วโลกที่อยู่ใกล้บ้านของเขาที่สุดที่ปาซาเดนา และเหตุผลอีกส่วนหนึ่งว่าชื่อนั้นสะกดง่าย ไม่เหมือนกับ[[ควาอัวร์]]<ref>{{cite book |title=How I Killed Pluto And Why It Had It Coming |author=[[Michael E. Brown]] |publisher=Spiegel & Grau |year=2012 |location=New York |isbn=978-0-385-53110-8 |page=103}}</ref> บนเว็บไซต์ของเขา เขาเขียนว่า {{cquote|วัตถุที่ค้นพบใหม่ของเรานั้นหนาวที่สุด อยู่ไกลที่สุดในระบบสุริยะ ดังนั้นเราจึงรู้สึกว่ามันเหมาะสมที่จะตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่[[เซดนา (เทพปกรณัม)|เซดนา]] [[เทพปกรณัมอินุต|เทพีอินุต]]แห่งท้องทะเล ผู้ซึ่งเชื่อกันว่าอาศัยอยู่ ณ ก้นของ[[มหาสมุทรอาร์กติก]]อันเยือกเย็น<ref name="mikebrown"/>}} ไมเคิล บราวน์ยังเสนอต่อศูนย์ดาวเคราะห์น้อยของ[[สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล]]ว่าวัตถุใด ๆ ที่จะค้นพบในอนาคต ถ้าอยู่ในบริเวณเดียวกับเซดนา ควรตั้งชื่อตามสิ่งที่อยู่ในเทพปกรณัมอาร์กติก<ref name="mikebrown" /> ทีมผู้ค้นพบตีพิมพ์ชื่อ "เซดนา" ก่อนการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการ<ref name="mpc" /> [[ไบรอัน มาร์สเดน]] ผู้อำนวยการศูนย์ดาวเคราะห์น้อย กล่าวว่าการทำเช่นนี้เป็นการละเมิดพิธีสารและอาจมีนักดาราศาสตร์ของสหพันธ์ดาราศาสตร์สากลโต้แย้ง<ref name="Walker" /> ถึงกระนั้น ไม่มีข้อคัดค้านใด ๆ ต่อชื่อนี้เลย และไม่มีชื่ออื่นใดเสนอเข้ามา การประชุมของคณะกรรมการร่างชื่อวัตถุขนาดเล็กจึงยอมรับชื่อ "เซดนา" ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2547<ref name="MPC_200ปิดใข20040928" /> และอนุญาตให้มีการตั้งชื่อก่อนที่จะได้รับชื่ออย่างเป็นทางการ สำหรับกรณีที่น่าสนใจเป็นพิเศษที่คล้ายกัน<ref name="mpc" />
 
== วงโคจรและการโคจร ==
เส้น 105 ⟶ 110:
 
ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2561 [[อีธาน ซีเกล]] นักดาราศาสตร์ฟิสิกส์ สนับสนุนยานอวกาศสำหรับศึกษาเซดนาที่ตำแหน่งใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดอย่างเปิดเผย ซีเกลกล่าวว่าเซดนาเป็นเป้าหมายที่น่าดึงดูด เนื่องจากเป็นไปได้ที่เซดนาจะเป็นวัตถุเมฆออร์ตชั้นใน และด้วยคาบการโคจรอันยาวนานของเซดนาซึ่งอาจเป็นเพียงโอกาสเดียวในหลายสหัสวรรษที่จะได้ศึกษาเซดนาที่ระยะใกล้จากดวงอาทิตย์ขนาดนั้น<ref>{{Cite news|url=https://www.forbes.com/sites/startswithabang/2018/05/22/is-humanity-ignoring-our-first-chance-for-a-mission-to-an-oort-cloud-object/#5c721c266953|title=Is Humanity Ignoring Our First Chance For A Mission To An Oort Cloud Object?|last=Siegel|first=Ethan|work=Forbes|access-date=2018-07-13|language=en}}</ref> ภารกิจเช่นนี้สามารถทำให้สะดวกขึ้นได้ด้วยเครื่องพ่นไอออน [[Dual-Stage 4-Grid]] ที่สามารถย่นเวลาการเดินทางได้อย่างมาก ถ้าให้พลังงานด้วยบางอย่าง เช่น เตาปฏิกรณ์<ref>{{Cite journal|date=2009-04-01|title=Very high delta-V missions to the edge of the solar system and beyond enabled by the dual-stage 4-grid ion thruster concept|url=https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0094576508003731|journal=Acta Astronautica|language=en|volume=64|issue=7–8|pages=735–744|doi=10.1016/j.actaastro.2008.11.013|issn=0094-5765|bibcode=2009AcAau..64..735B|last1=Bramanti|first1=C|last2=Izzo|first2=D|last3=Samaraee|first3=T|last4=Walker|first4=R|last5=Fearn|first5=D}}</ref>
 
== เชิงอรรถ ==
{{reflist|2|group=lower-alpha}}
 
== อ้างอิง ==