ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 79:
* ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
* ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
** สาขาภาควิชาระบาดวิทยาคลินิก
* ภาควิชารังสีวิทยา
* ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู
เส้น 116 ⟶ 117:
{| class="toccolours" width = 100%
|-
! style="background: darkgreen; color:white; " width=34%| ระดับปริญญาตรี
! style="background: darkgreen; color:white; " width=33%| ระดับปริญญาโท
! style="background: darkgreen; color:white; " width=33%| ระดับปริญญาเอก
|-
| valign = "top" |
* '''หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต'''
** สาขาแพทยศาสตร์ (หลักสูตรปกติ 6 ปี)
** สาขาแพทยศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ชีวการแพทย์<br>(หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตและวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตควบ พ.บ.-วศ.ม. 7 ปี)
** สาขาแพทยศาสตร์ โครงการมหิดลวิทยาจารย์<br>(หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตควบ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและแพทยศาสตรบัณฑิตวท.บ.-ปร.ด.-พ.บ.)
* '''หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต'''
** สาขาพยาบาลศาสตร์
เส้น 132 ⟶ 133:
| valign = "top" |
* '''หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต'''
** สาขาการพยาบาลเด็ก (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
** สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
** สาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
** สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
**สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ (ภาคปกติ)
** สาขาการผดุงครรภ์ขั้นสูง (ดำเนินการขอเปิดหลักสูตรใหม่)
** สาขาการผดุงครรภ์
** สาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ (ดำเนินการขอเปิดหลักสูตรใหม่)
* '''หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต'''
**
** สาขาการเจริญพันธ์และวางแผนประชากรประยุกต์เทคโนโลยี
**สาขาการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ (โครงการร่วมคณะเภสัชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม และบัณฑิตวิทยาลัย)
** สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
**สาขาจิตวิทยาเด็ก วัยรุ่น และครอบครัว (โครงการร่วมคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว)
** สาขาพยาธิวิทยาคลินิก
**สาขาแพทยศาสตร์
** สาขาฟิสิกส์การแพทย์
** สาขาโภชนศาสตร์ (โครงการร่วมระหว่าง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และสถาบันโภชนาการ)
** สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
** สาขาเวชศาสตร์ปริวรรต
** สาขาโภชนศาสตร์วิทยาการระบาดทางการแพทย์ (โครงการร่วมระหว่าง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และสถาบันโภชนาการคณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน
**สาขาวิทยาศาสตร์ข้อมูลการดูแลสุขภาพ
**สาขาอาชีวอนามัยและพิษวิทยา
| valign = "top" |
* '''หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต'''
** สาขาการประเมินเทนโนโลยีด้านสุขภาพ (โครงการร่วมคณะเภสัชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม และบัณฑิตวิทยาลัย)
** สาขาระบาดวิทยาคลินิก
**สาขาระบาดวิทยาคลินิก
**สาขาเวชศาสตร์โมเลกุล (โครงการร่วม คณะวิทยาศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน)
** สาขาเวชศาสตร์ปริวรรต
**สาขาวิทยาศาสตร์ข้อมูลการดูแลสุขภาพ
** สาขาพยาธิวิทยาคลินิก
** สาขาโภชนศาสตร์ (โครงการร่วมระหว่าง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และสถาบันโภชนาการ)
** สาขาวิชาการพยาบาล (หลักสูตรนานาชาติ ร่วมกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ)
|-
|}
เส้น 158 ⟶ 169:
* นอกจากนี้ยังมีหลักสูตรระดับอนุปริญญา ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรชั้นสูงหลังปริญญาเอก การฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทาง และการอบรมระยะสั้นสาขาต่างๆ อีกด้วย
* '''หลักสูตรปรัญชาดุษฎีบัณฑิต''' สาขาวิชาการพยาบาล (หลักสูตรนานาชาติ ร่วมกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ) เป็นโครงการร่วมระหว่างคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และคณะพยาบาลศาสตร์ ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในอเมริกา แคนนาดา ออสเตรเลีย โดยนักศึกษาต้องไปทำวิจัยมหาวิทยาลัยในต่างประเทศที่เลือกเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี
* '''หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและแพทยศาสตรบัณฑิต''' (โครงการทุนมหิดลวิทยาจารย์) เป็นโครงการผลิตอาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยคณะวิทยาศาสตร์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี [[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล|คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล]] [[คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล|คณะทันตแพทยศาสตร์]] [[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล|คณะเภสัชศาสตร์]] และ[[คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล|คณะสัตวแพทยศาสตร์]] โดยมีวัตถุประสงค์ในการผลิตแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และ สัตวแพทย์นักวิจัยในสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อพัฒนาการแพทย์ของประเทศไทย โดยมีการคัดเลือกนักศึกษาผู้จบการศึกษาชั้นปีที่ 3 ที่มีผลการเรียนดี และมีศักยภาพ แยกไปศึกษาจนสำเร็จระดับปริญญาเอก แล้วจึงกลับมาเรียนต่อชั้นคลินิกที่คณะต้นสังกัดจนสำเร็จการศึกษา
 
== [[สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์]] ==