ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saranphat chaiphet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Saranphat chaiphet (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 21:
 
==การสถาปนา==
'''ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์''' หรือ'''ราชวงศ์หลวงติ๋นมหาวงศ์''' เป็นราชวงศ์ที่สืบเชื้อสายราชสกุลมาจาก [[เจ้าพญาหลวงติ๋นมหาวงศ์|เจ้าหลวงติ๋นมหาวงศ์]] เจ้านครเมืองน่าน เจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน พระองค์ที่ 51 และเป็นเจ้าผู้ครองเมืองนครน่านใน พระองค์ที่ 1 แห่งราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์ นับเป็นปฐมบรรพบุรุษราชสกุล "ณ น่าน" ครองเมืองน่านระหว่างปี พ.ศ. 2269 และนับตั้งแต่นั้นมา- เมืองน่านจึงกลับ2294 และมี เจ้าผู้ครองนครอีกครั้ง โดยนับ [[เจ้าพญาหลวงติ๋นมหาสืบวงศ์]] '''เรื่อยมา เป็นปฐมแห่ง '''ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์'''<ref>http://nanwaingsa.myreadyweb.com/article/category-74224.html</ref>จนถึงปี และเป็นบรรพบุรุษพ.ศ. แห่งราชสกุล2474 น่าน
 
* ในปี พ.ศ. 2475 มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจึงถือเป็นการสิ้นสุดตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครนับแต่นั้นมา
เจ้าหลวงติ๋นมหาวงศ์ มีเชื้อสายเป็นเจ้า ที่ปกครองเมืองเชียงใหม่ และยังเป็นญาติวงศ์ กับพระเจ้าศรีสองเมือง กษัตริย์แคว้นล้านนา หรือเจ้าศรีสองเมืองพลศึกซ้ายไชยสงคราม เจ้านครเมืองน่าน เจ้าผู้ครองเมืองน่าน องค์ที่ 41
* ในปี พ.ศ. 2269 เมื่อพระนาขวา (น้อยอินทร์) ผู้ดูแลเมืองน่านร่วม 11 ปี ก็ได้ไปกราบทูล[[พระเจ้ากรุงอังวะ]] เพื่อขอเจ้าติ๋นหลวง เมืองเชียงใหม่ มาเป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน เนื่องจากพระนาขวา (น้อยอินทร์) ไม่มีเชื้อสายเจ้าเมืองมาก่อนจึงไม่กล้าครองเมืองน่าน เจ้าพญาหลวงติ๋นมหาวงศ์ ครองเมืองน่านระหว่าง พ.ศ. 2269 - 2294 เป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน องค์ที่ 1 แห่งราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์ และเป็นเจ้าเมืองน่าน ลำดับที่ 51 แห่งนครเมืองน่าน นับเป็นปฐมบรรพบุรุษราชสกุล "ณ น่าน" ปัจจุบัน และมีเจ้าผู้ครองนครสืบลงมา จนกระทั่งสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เจ้าผู้ครองนครน่านได้มาขอพึ่งพระบรมโพธิสมภาร [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ได้มีมหากรุณาธิคุณทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมยกย่องเป็นเจ้าฟ้าเป็นครั้งแรกคือ"เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ"เหมือนตำแหน่งเจ้าฟ้าไทใหญ่ในพม่าและเจ้าผู้ครองนครน่านได้ถวายความจงรงภัคดีต่อราชวงศ์จักรีเรื่อยมา จวบจนกระทั่งเหตุการณ์ที่เวียงจันทน์ก่อกบฎในปี พ.ศ. 2369 เจ้าผู้ครองนครน่านมีสายสัมพันธ์ที่ดีกับเจ้าอนุวงศ์ เมืองน่านจึงถูกจับตาจากกรุงเทพอย่างใกล้ชิด จวบจนมาถึงสมัยเงี้ยวปล้นเมืองแพร่ เมื่อปีพ.ศ. 2445 เจ้าผู้ครองนครน่านได้ช่วยเหลือกิจการในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นอย่างดีจึงได้รับพระมหากรุณาธิคุณสถาปนาขึ้นเป็นพระเจ้าประเทศราชเป็นครั้งแรกและเป็นองค์สุดท้ายในประวัติศาสตร์