ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนรินทร์รณเรศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kritsnp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
}}
 
'''สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงนรินทร์รณเรศ'''<ref>{{cite web |url=http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf|title= ราชสกุลวงศ์|author=|date=|work= |publisher=กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์|accessdate=24 กุมภาพันธ์ 2557}}</ref> (พ.ศ. 2300 - พ.ศ. 2340) มีพระนามเดิมว่า '''ทองจีน''' เป็นพระโอรสใน[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระเทพสุดาวดี]] กับ[[พระอินทรรักษา (เสม)]] ประสูติในสมัย[[อาณาจักรอยุธยา]] เป็นพระภาคิไนยใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ในสมัย[[อาณาจักรธนบุรี]] ทรงดำรงตำแหน่งเป็นหลวงฤทธินายเวร มหาดเล็กรักษาพระองค์ใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] ปี พ.ศ. 2324 เป็นอุปทูตร่วมกับคณะราชทูตไทย(พระยาศรีธรรมมาธิราช) ไปสัมพันธไมตรีและค้าขายที่เมืองจีน โดยออกเดินทางเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 7 แรม 11 ค่ำ ปีฉลู พ.ศ. 2324 เพื่อไปถวายพระราชสาสน์และบรรณาการแก่พระเจ้าเซียนหลงที่กรุงปักกิ่ง ระหว่างเดินทางได้แวะพักและทำการค้าที่ ที่มณฑลกวางตุ้ง กลับจากกรุงปักกิ่งเมื่อเหตุการณ์ผลัดแผ่นดิน ในวันที่ 6 เมษายน 2325 ได้ผ่านพ้นไปแล้ว ในครั้งศึกสงครามเก้าทัพ พ.ศ. 2328 ร่วมออกรบกับ[[สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์]] (พระเชษฐา) เป็นกองหลวงป้องกันทัพที่ ๘ ของพม่า (นำทัพโดย เมยโนสีหปติ) ที่ปากน้ำพิงนครสวรรค์ และ สามารถขับไล่กองทัพพม่าไปได้
ในสมัย[[อาณาจักรธนบุรี]] ทรงดำรงตำแหน่งเป็นหลวงฤทธินายเวร มหาดเล็กรักษาพระองค์ใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]
ปี พ.ศ. 2324 เป็นอุปทูตร่วมกับคณะราชทูตไทย(พระยาศรีธรรมมาธิราช) ไปสัมพันธไมตรีและค้าขายที่เมืองจีน โดยออกเดินทางเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 7 แรม 11 ค่ำ ปีฉลู พ.ศ. 2324 เพื่อไปถวายพระราชสาสน์และบรรณาการแก่พระเจ้าเซียนหลงที่กรุงปักกิ่ง ระหว่างเดินทางได้แวะพักและทำการค้าที่ ที่มณฑลกวางตุ้ง กลับจากกรุงปักกิ่งเมื่อเหตุการณ์ผลัดแผ่นดิน ในวันที่ 6 เมษายน 2325 ได้ผ่านพ้นไปแล้ว
ในครั้งศึกสงครามเก้าทัพ พ.ศ. 2328 ร่วมออกรบกับ[[สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์]] (พระเชษฐา) เป็นกองหลวงป้องกันทัพที่ ๘ ของพม่า (นำทัพโดย เมยโนสีหปติ) ที่ปากน้ำพิงนครสวรรค์ และ สามารถขับไล่กองทัพพม่าไปได้
 
พระองค์ประทับอยู่ที่[[วังสวนมังคุด]] บริเวณใกล้กับ[[วัดระฆัง]] ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระราชทานให้ ปัจจุบันยังคงเหลือแนวกำแพงอิฐเก่าอยู่ในบริเวณชุมชนวัดระฆัง