ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาจ้วง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
|iso2=zha
|iso3=zha
|lc1=zch |ld1=จ้วงแบบหงสุ่ยเหอตอนกลาง
|lc1=zch |ld1=Central Hongshuihe Zhuang
|lc2=zhd |ld2=ภาษาจ้วงไดแบบไท
|lc3=zeh |ld3=จ้วงแบบหงสุ่ยเหอตะวันออก
|lc3=zeh |ld3=Eastern Hongshuihe Zhuang
|lc4=zgb |ld4=จ้วงแบบกุ้ยเป่ย์
|lc4=zgb |ld4=Guibei Zhuang
|lc5=zgn |ld5=Guibian Zhuang
|lc6=zln |ld6=Lianshan Zhuang
|lc7=zlj |ld7=Liujiang Zhuang
|lc8=zlq |ld8=จ้วงแบบหลิ่วเชียน
|lc8=zlq |ld8=Liuqian Zhuang
|lc9=zgm |ld9=Minz Zhuang
|lc10=zhn |ld10=Nong Zhuang (Yanguang)
|lc11=zqe |ld11=Qiubei Zhuang
|lc12=zyg |ld12=ภาษาจ้วงแบบหยาง
|lc13=zyb |ld13=Yongbei Zhuang
|lc14=zyn |ld14=ภาษาจ้วงแบบหยงหนาน
|lc15=zyj |ld15=Youjiang Zhuang
|lc16=zzj |ld16=ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง
}}
 
'''ภาษาจ้วง''' (จ้วง: Vahcuengh; {{Zh-all|c=壮语|p=Zhuàngyǔ}}) เป็น[[ภาษา]]ของ[[ชาวจ้วง]]ใน[[เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง]] [[ประเทศจีน]] เป็น[[ภาษาตระกูลขร้า-ไท]] มีวรรณยุกต์ 6 เสียง ระบบการเขียนมีทั้งแบบที่ยืมมาจาก[[อักษรจีน]] คล้ายกับ[[อักษรจื๋อโนม]]ของ[[เวียดนาม]] เรียก [[สือดิบผู้จ่อง]] และแบบที่เขียนด้วย[[อักษรละติน]] ซึ่งเริ่มใช้เมื่อ [[พ.ศ. 2500]] และปรับปรุงอีกครั้งเมื่อ [[พ.ศ. 2529]]
 
ภาษาจ้วงแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือได้แก่
 
* ภาษาจ้วงเหนือ ถือว่าเป็นสำเนียงมาตรฐาน
'''ภาษาจ้วงเหนือ''' คือภาษาถิ่นทางตอนเหนือของแม่น้ำหย่ง (หย่งเจียง 邕江) มีผู้พูด 8,572,200 คน ถือว่าเป็นสำเนียงมาตรฐาน แบ่งออกเป็น
* ภาษาจ้วงใต้ เช่น [[ภาษาจ้วงจั่วเจียง]] [[ภาษาจ้วงได]] [[ภาษาจ้วงหยงหนาน]] [[ภาษาจ้วงหยาง]]
* แบบกุ้ยเป่ย์ (桂北: zgb) มีผู้พูด 1,290,000 คน อยู่บริเวณ Luocheng, Huanjiang, Rongshui, Rong'an, Sanjiang, Yongfu, Longsheng, Hechi, Nandan, Tian'e, Donglan
* แบบหลิ่วเจียง (柳江: zlj) มีผู้พูด 1,297,000 คน อยู่บริเวณ Liujiang, Laibin North, Yishan, Liucheng, Xincheng
* แบบหงสุ่ยเหอ (红水河) มีผู้พูด 2,823,000 คน อยู่บริเวณ Laibin South, Du'an, Mashan, Shilong, Guixian, Luzhai, Lipu, Yangshuo
** Castro และ Hansen (2010) ได้แบ่งสำเนียงนี้ออกเป็น 3 ภาษาที่ไม่สามารถสื่อสารกันได้ ได้แก่ หงสุ่ยเหอตอนกลาง (中红水河: zch), หงสุ่ยเหอตะวันออก (东红水河: zeh), และหลิ่วเฉียน (柳黔: zlq)
 
 
* ภาษาจ้วงใต้
 
== อ้างอิง ==