ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดขอนแก่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taewonder (คุย | ส่วนร่วม)
Taewonder (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 823:
จังหวัดขอนแก่นเคยเคยอยู่ในเขตการปกครองของอาณาจักรล้านช้าง เวียงจันทน์ จำปาศักดิ์ มีการอพยพของประชาชนชาวลาวเข้ามาอาศัย โดยเกิดขึ้นในสมัยธนบุรีและต้นสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นประชากรดั้งเดิมของจังหวัด นอกจากนั้นแล้ว ในเขตเมืองยังมีชาวไทยเชื้อสายจีนอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งถือเป็นชุมชนใหญ่และมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก รวมถึงชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม ชาวไทญ้อและชาวต่างชาติอื่นๆ ซึ่งย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานในจังหวัดขอนแก่น
 
=== ศาสนาและวัฒนธรรม ===
<br />
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนา 1,466 แห่ง ประกอบด้วย วัด 1,371 แห่ง โบสถ์คริสต์ 58 แห่ง มัสยิด 7 แห่ง และสุเหร่า 2 แห่ง โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม - บาลี 26 แห่ง และมหาวิทยาลัยสงฆ์ 2 แห่ง (ส่านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดขอนแก่น 2557)<br />
 
== การศึกษา ==
เส้น 831 ⟶ 832:
โดยประกอบด้วยโรงเรียนมัธยมจาก 2 สังกัด ได้แก่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ครอบคลุมโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดขอนแก่น 84 แห่ง และสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น ครอบคลุมโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดขอนแก่น 17 แห่ง ส่วนโรงเรียนประถมศึกษา อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น ซึ่งมีทั้งหมด 5 เขต และสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่าง ๆ ซึ่งครอบคลุมโรงเรียนขยายโอกาศทางการศึกษาอีก 43 แห่ง
 
สถานศึกษาในระดับอาชีวศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ปัจจุบันอยู่ในกำกับดูแลของ[[สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)|สำนักงานคณะกรรรมการการอาชีวศึกษา]] และสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่สำคัญที่สุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ [[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]]
 
<br />
 
== การสาธารณสุข ==
สถานบริการด้านสาธารณสุข มีโรงพยาบาล 32 แห่ง สังกัดส่านักงานสาธารณสุขจังหวัด ขอนแก่น 22 แห่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2 แห่ง กระทรวงกลาโหม 1 แห่ง กรมอนามัย 1 แห่ง กรม สุขภาพจิต 1 แห่ง กรมการแพทย์ 1 แห่ง เอกชน 4 แห่ง
 
1. สถานบริการสาธารณสุข สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
1) โรงพยาบาลขอนแก่น (รพศ.) ขนาด 1,000 เตียง 1 แห่ง
 
2) โรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น (รพท.) ขนาด 250 เตียง 1 แห่ง
 
3) โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 120 เตียง 1 แห่ง, ขนาด 90 เตียง 2 แห่ง, ขนาด 60 เตียง 5 แห่ง และ ขนาด 30 เตียง 12 แห่ง
 
4) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต่าบล 248 แห่ง
 
5) ศูนย์แพทย์ 4 มุมเมือง (สังกัดโรงพยาบาลขอนแก่น) 4 แห่ง - ศูนย์แพทย์ชาตะผดุง - ศูนย์แพทย์ประชาสโมสร - ศูนย์แพทย์มิตรภาพ - ศูนย์แพทย์ชุมชนวัดหนองแวง พระอารามหลวง
 
6) ศูนย์อนามัยที่ 6 - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ขนาด 100 เตียง 1 แห่ง
 
7) ศูนย์บ่าบัดรักษายาเสพติด จังหวัดขอนแก่น ขนาด 150 เตียง 1 แห่ง
 
8) โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ ขนาด 400 เตียง 1 แห่ง
 
2. สถานบริการสาธารณสุข สังกัดกระทรวงอื่น
 
1) โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขนาด 1,220 เตียง 1 แห่ง
 
2) ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขนาด 200 เตียง 1 แห่ง
 
3) โรงพยาบาลค่ายศรีพัชรินทร จังหวัดขอนแก่น ขนาด 50 เตียง 1 แห่ง
 
4) ศูนย์บริการสาธารณสุขสังกัดเทศบาลนครขอนแก่น 3 แห่ง - ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่น - ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 3 บ้านโนนชัย - ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 5 บ้านหนองใหญ่
 
3. สถานบริการสาธารณสุขเอกชน โรงพยาบาลเอกชน 4 แห่ง ได้แก่
 
1) โรงพยาบาลขอนแก่นราม ขนาด 300 เตียง
 
2) โรงพยาบาลราชพฤกษ์ แห่งที่ 1 ขนาด 50 เตียง
 
3) โรงพยาบาลราชพฤกษ์ แห่งที่ 2 ขนาด 200 เตียง
 
4) โรงพยาบาลกรุงเทพฯ ขอนแก่น ขนาด 140 เตียง<br />
 
== เศรษฐกิจ ==
จังหวัดขอนแก่นมี เศรษฐกิจมูลค่าจ่านวน 185,603 ล้านบาท เป็นล่าดับที่ 14 ของประเทศ และเป็นล่าดับที่ 2 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สาขาการผลิตที่สร้างรายได้ให้กับจังหวัดขอนแก่น ในปี 2555 คือ สาขานอกภาคเกษตร มีมูลค่า 163,144 ล้านบาท ในขณะที่สาขาภาคเกษตรมีมูลค่า 22,451 ล้านบาท สาขานอกภาคเกษตร มีมูลค่าอันดับ 1 คือ สาขาผลิตอุตสาหกรรม มีมูลค่า 77,001 ล้านบาท รองลงมา คือสาขาการศึกษา มีมูลค่า 18,468 ล้านบาท และการขายส่ง ขายปลีก ซ่อมแซมฯ มีมูลค่า 16,426 ล้านบาท
จังหวัดขอนแก่นมี[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ]] หรือจีดีพี เป็นอันดับที่ 2 ของภาคอีสาน แต่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีมากที่สุดคือ 107,607 บาท 
 
รายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากร (Per Capita GPP) ของจังหวัดขอนแก่น ปี 2555 คือ 106,583 บาท อยู่ใน อันดับที่ 1 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นอันดับที่ 33 ของประเทศ
=== ภาคการเงินการธนาคาร ===
จังหวัดขอนแก่นมีจำนวนสำนักงานของธนาคารทั้งสิ้น 102 สำนักงาน (พ.ศ. 2554) เงินรับฝากรวมทุกประเภท ทั้งสิ้น 80,000 ล้านบาท และเงินให้สินเชื่อรวมทุกประเภท (มี.ค.2557) ทั้งสิ้นกว่า 100,000 ล้านบาท
 
(ที่มา : ส่านักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)
กรมธนารักษ์ประเมินราคาที่ดินระยะ 4 ปี โดยประกาศใช้ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2559 - 31 ธ.ค.2562 พบว่าจังหวัดขอนแก่นมีราคาที่ดินเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 29% แพงที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยย่าน ถนนศรีจันทร์ มีราคาสูงที่สุด เฉลี่ย 5,000-200,000 ต่อตารางวา ซึ่งทำให้อสังหาริมทรัพย์ประเภทคอนโดมีเนียมแบบ high rise ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ดังจะเห็นได้จาก คอนโดมีเนียมความสูง 30 ชั้นขึ้นไปหลายแห่งภายในเขตเทศบาล
 
 
กรมธนารักษ์ประเมินราคาที่ดินระยะ 4 ปี โดยประกาศใช้ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2559 - 31 ธ.ค.2562 พบว่าจังหวัดขอนแก่นมีราคาที่ดินเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 29% แพงที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยย่าน ถนนศรีจันทร์ มีราคาสูงที่สุด เฉลี่ย 5,000-200,000 ต่อตารางวา ซึ่งทำให้อสังหาริมทรัพย์ประเภทคอนโดมีเนียมแบบ high rise ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ดังจะเห็นได้จาก คอนโดมีเนียมความสูง 30 ชั้นขึ้นไปหลายแห่งภายในเขตเทศบาล
 
=== ภาคการเกษตร ===
จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่การเกษตร 4,369,043 ไร่ (ร้อยละ 64.19 ของพื้นที่จังหวัด) โดยอยู่ในเขตชลประทาน 757,542 ไร่ (คิดเป็นร้อยละ 13.14 ของพื้นที่การเกษตร หรือร้อยละ 8 ของพื้นที่จังหวัด) จ่านวนคนท่างานในภาค เกษตร 439,583 คน
 
โดยพืชที่ส่าคัญ คือ ข้าว มัน ส่าปะหลัง และอ้อยโรงงาน และสัตว์เศรษฐกิจส่าคัญ คือ โคเนื้อ สุกร ไก่เนื้อ และโคนม
 
(ที่มา : ส่านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดขอนแก่น)
 
=== ภาคการเงินการธนาคาร ===
จังหวัดขอนแก่น เป็นที่ตั้งของธนาคารแห่งประเทศไทย ส่านักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และสถาบันการเงิน พิเศษของรัฐ ได้แก่ ธ.เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธ.ออมสิน ธ.อาคารสงเคราะห์ ธ.พัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ธ.เพื่อการส่งออกและน่าเข้าแห่งประเทศไทย ธ.อิสลามแห่งประเทศ ไทย รวมทั้ง ธ.พาณิชย์สาขาหลักและสาขาย่อย รวมทั้งสิ้น 168 แห่ง
 
=== ธุรกิจ Mice ===
Meetings, Incentive Travel, Conventions, Exhibitions หรือบางครั้ง C หมายถึง Conferencing และ E หมายถึง Events จากสภาพที่ตั้งของเมือง ขอนแก่นจึงเป็นศูนย์กลางทางการค้าและการศึกษาของภูมิภาค และเป็นจุดหมายยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยว เป็นเมืองศูนย์กลางการปฏิบัติงานตาม "แผนงานพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจ" และเชื่อมต่อประเทศไทย พม่า เวียดนามเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางบกและทางอากาศที่สำคัญ ทำให้ขอนแก่นเป็นเมืองไมซ์ที่สำคัญของประเทศ มีศักยภาพในการรองรับผู้เดินทางมาร่วมอีเวนต์ทางธุรกิจได้เป็นจำนวนมาก โดยมี [[ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] บนถนนมะลิวัลย์ และ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ ขอนแก่น (KICE)<ref>https://www.kice-center.com/</ref> บนถนนมิตรภาพ เป็นสองศูนย์ประชุมหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่รองรับการประชุมสัมนาขนาด 10,000 คน และการแสดงสินค้าระดับนานาชาติได้ ทำให้จังหวัดขอนแก่น เป็นศูนย์กลางการประชุมสัมมนา (MICE City) การคมนาคมสะดวกทั้งทางรถยนต์ รถไฟ เครื่องบิน พื้นที่ฟรี WiFi ในที่สาธารณะ จ่านวน 661 จุด สิ่งอ่านวยความสะดวกเหล่านี้ ท่าให้มีนักท่องเที่ยว และผู้มาประชุมสัมมนา รวมถึงรายได้จากการท่องเที่ยวมีจ่านวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
 
=== ธุรกิจการท่องเที่ยว <ref>https://www.posttoday.com/life/healthy/578232</ref> ===
เส้น 852 ⟶ 907:
 
=== อุตสาหกรรมหนัก ===
การผลิตภาคอุตสาหกรรมมีอัตราการขยายตัวในอัตราที่สูงอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มความสำคัญต่อเศรษฐกิจของจังหวัดมากขึ้นเป็นลำดับ มีโรงงานอุตสาหกรรมได้รับอนุญาตให้ประกอบการ จ่านวนทั้งสิ้น 4,131 โรงงาน เงินทุน 77,233,083,744 บาท คนงาน 85,528 คน ประเภทของอุตสาหกรรมได้เริ่มปรับเปลี่ยน จากอุตสาหกรรมเกษตร มาเป็นอุตสาหกรรมวิศวการ ทั้งนี้อุตสาหกรรมส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับวัตถุดิบทางการเกษตร เช่น โรงสีข้าว  โรงงานมันเส้น  โรงงานน้ำตาล และ โรงงานเยื่อกระดาษ และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องจากการค้นพบแหล่งปิโตรเลียม (ก๊าซธรรมชาติ) ฯลฯ
 
[[อุตสาหกรรม]]ที่สำคัญของจังหวัด 6 อันดับ ได้แก่
เส้น 862 ⟶ 917:
# อุตสาหกรรม การผลิดอาหารสัตว์
#อุตสาหกรรม ผลิตเอทานอล
 
=== พลังงาน ===
จังหวัดขอนแก่นโรงงานผลิตเอทานอล 2 แห่ง โดยมีก่าลังการผลิตจากมันส่าปะหลัง 130,000 ลิตร/วัน และจาก กากน้่าตาล 150,000 ลิตร/วัน สถานีบริการน้่ามันเชื้อเพลิง 667 แห่ง สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ (NGV) จ่านวน 9 แห่ง สถานีบริการก๊าซ LPG 61 แห่ง และร้านจ่าหน่ายก๊าซหุงตุ้ม (LPG) 680 แห่ง
 
การไฟฟ้ามีแหล่งผลิตไฟฟ้าที่ส่าคัญ คือ โรงไฟฟ้าพลังน้่าเขื่อนอุบลรัตน์ และโรงไฟฟ้าพลังความ ร้อนร่วมน้่าพอง ก่าลังผลิต เมกกะวัตต์ และ 710 เมกกะวัตต์ตามล่าดับ 25.2
 
สถานการณ์ใช้ ไฟฟ้าของจังหวัด ขอนแก่น 478,919 ครัวเรือน มีไฟฟ้าใช้แล้ว 464,286 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละที่มีไฟฟ้าใช้แล้ว 96.94
 
== การคมนาคม ==