ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พีระมิดคูฟู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 23:
[[ไฟล์:PyramidDatePalms.jpg|thumb|250px|พีระมิดแห่งกีซา ในสมัย คริสต์ศตวรรษที่ 19]]
{{maplink|frame=yes|frame-width=250|zoom=13|type=shape|text=แผนที่}}<mapframe height="200" zoom="13" text="แผนที่" width="250">{"properties":{"stroke-width":6,"stroke":"#ff0000","title":"พีระมิดคูฟู"},"type":"ExternalData","service":"geoshape","ids":"Q37200"}</mapframe>
<mapframe height="200" zoom="13" text="แผนที่" width="250">{"properties":{"stroke-width":6,"stroke":"#ff0000","title":"พีระมิดคูฟู"},"type":"ExternalData","service":"geoshape","ids":"Q37200"}</mapframe>
<mapframe height="200" zoom="13" text="แผนที่" width="250">{"properties":{"stroke-width":6,"stroke":"#ff0000","title":"พีระมิดคูฟู"},"type":"ExternalData","service":"geoshape","ids":"Q37200"}</mapframe>
 
เส้น 88 ⟶ 89:
 
== เปรียบเทียบความสูงพีระมิดคูฟูกับสิ่งก่อสร้างในประเทศไทย ==
หากเทียบกับความสูงกับสิ่งก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร [[วัดอรุณราชวราราม|พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม]] ซึ่งก่อสร้างเพิ่มเติมในรัชกาล [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 3 จากพระปรางค์องค์เดิมสมัยอยุธยา ที่สูงเพียง 8 วา เมื่อการก่อสร้างแล้วเสร็จ ในปี [[พ.ศ. 2394]] (ประมาณ ค.ศ. 1851) พระปรางค์องค์ใหญ่ มีความสูง 1 เส้น 13 วา 1 ศอก 1 คืบ 1 นิ้ว (ประมาณ 67 เมตร) นับได้ว่าเป็นสิ่งก่อสร้างสูงที่สุดในกรุงเทพมหานครขณะนั้น ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2420]] (ประมาณ ค.ศ. 1877) การก่อสร้างพระเจดีย์ภูเขาทอง (พระบรมบรรพต) ซึ่งเป็นพระเจดีย์ที่สร้างบนยอดภูเขาซึ่งก่อขึ้นโดยฝีมือมนุษย์จากไม้และอิฐ ได้ดำเนินการแล้วเสร็จมีความสูง ถึงยอดเจดีย์ 1 เสัน 19 วา 2 ศอก (ประมาณ 77 เมตร) จึงนับเป็นสิ่งก่อสร้างสูงที่สุดแห่งใหม่ในกรุงเทพมหานคร
 
สิ่งก่อสร้างสำคัญอีกแห่งหนึ่งได้ก่อสร้างแล้วเสร็จก่อนหน้าพระเจดีย์ภูเขาทองเล็กน้อย คือ [[พระปฐมเจดีย์]] ที่จังหวัดนครปฐม ซึ่งเมื่อดำเนินการก่อสร้าง เจดีย์องค์ใหม่ ครอบเจดีย์องค์เดิม เสร็จสิ้นในปี [[พ.ศ. 2413]] (ประมาณ ค.ศ. 1870) ทำให้ พระปฐมเจดีย์องค์ใหม่ มีความสูงถึง 3 เส้น 1 คืบ 6 นิ้ว (ประมาณ 120.45 เมตร) นับเป็นสิ่งก่อสร้างสูงที่สุดในประเทศไทยต่อมาอีกเป็นเวลากว่า 100 ปี