ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงพ่อเนียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jaybroom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล พระสงฆ์ไทย
| ชื่อสมณศักดิ์ = หลวงพ่อเนียม ธมฺมโชติ
| ชื่อ = หลวงพ่อเนียม วัดน้อย
| ชื่อภาพ = [[ไฟล์:หลวงพ่อเนียม_2013-08-28_18-28.jpg|250px]]
| ฉายา = ธมฺมโชติ
| ชื่อทั่วไป = หลวงพ่อเนียม วัดน้อย
| สมณศักดิ์ =
| วันเกิด = พ.ศ. 2370
| วันบวชเณร =
เส้น 12 ⟶ 13:
| อายุ = 80
| วัด = [[วัดน้อย]]
| จังหวัด = [[จังหวัดสุพรรณบุรี|สุพรรณบุรี]]
| สังกัด = มหานิกาย
| วุฒิ =
เส้น 30 ⟶ 31:
 
== วัตถุมงคล ==
ในด้านพระเครื่องนั้นเป็นที่โดงดังทั้วสารทิศ เป็นที่รู้จักทั้งในและนอกวงการพระเครื่อง ว่ามีคุณวิเศษมากมายในด้านแคล้วคลาด คงกระพันและเมตตามหานิยม โดยการสร้างพระในสมัยก่อนการทำปรอทให้แข็งไม่ใช่ของง่ายนัก ว่ากันว่าต้องใช้คาถาอาคม ทั้งต้องทำในฤดูฝนฤดูเดียวเท่านั้น เพราะพืชบางอย่าง เช่น ใบแตงหนู ซึ่งขึ้นในท้องนา จะขึ้นในฤดูฝน ส่วนผสมต่างๆ มีใบสลอด, ข้าวสุกหลวงพ่อท่านเอาของสามอย่างมาโขลกปนกันเพื่อไล่ขี้ปรอทออกให้หมด ทั้งนี้เพื่อให้ได้ปรอทขาวที่สุด การโขลกจะต้องโขลกและกวนอยู่ถึง ๗ วัน จึงจะเข้ากัน พอครบ ๗ วันเอาไปตากแดดเสร็จแล้วนำเอาไปกวนต่อจนเข้ากันดี จึงทำการแยกชั่งเป็นส่วน ๆ ส่วนละหนึ่งบาทต่อจากนั้นเอาไปใส่ครกหิน เติมกำมะถันและจุนสีโขลกตำให้เข้ากัน โดยใช้เวลาทำตอนกลางคืนเท่านั้น ทำเช่นนั้นอยู่ ๓ คืนจึงเอาปรอทใส่ลงไปในกระปุกเหล้าเกาเหลียง ผสมกับตะกั่วเอาเข้าไฟสุมอยู่ถึง 7 วัน บางครั้งอุณหภูมิ สูงจัด กระปุกเหล้าเกาเหลียงแตกเสียหายก็มี การสุมไฟสุมเฉพาะเวลากลางวัน ส่วนเวลากลางคืนทำพิธีปลุกเสกด้วยคาถาอาคม พอครบ ๗ ไฟเทลงในแม่พิมพ์จึงจะได้พระตามที่ต้องการ
 
โดยมีพิมพ์ที่นิยมกันเป็นสากลได้แก่
เส้น 56 ⟶ 57:
{{เรียงลำดับ|นียม}}
{{อายุขัย|2370|2450}}
[[หมวดหมู่:ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาส]]
[[หมวดหมู่:เกจิอาจารย์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสุพรรณบุรี‎‎]]
[[หมวดหมู่:ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]