ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีกลางบางซื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
}}
 
'''สถานีกลางบางซื่อ''' ({{lang-en|Bang Sue Central Station}}) เป็นโครงการก่อสร้างสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย เพื่อทดแทน[[สถานีรถไฟกรุงเทพ|สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง)]] เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จจะเป็นสถานีรถไฟหลักแห่งใหม่ของ[[ประเทศไทย]] และยังเป็นสถานีรถไฟใหญ่ที่สุดใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] โดยตั้งอยู่ในพื้นที่[[เขตจตุจักร]] [[กรุงเทพมหานคร]] กำหนดเปิดใช้งานในเดือนมกราคม พ.ศ. 2564 พร้อมกับเส้นทางรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง รวมระยะเวลาก่อสร้างตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2556 เป็นเวลา 8 ปี
 
สถานีกลางบางซื่อมีความยาว 596.6 เมตร ความกว้าง 244 เมตร ความสูง 43 เมตร พื้นที่ใช้สอยรวม 274,192 ตารางเมตร<ref name=Veera>รายการฟังหูไว้หู. ออกอากาศเมื่อ 1 กรกฎาคม 2562. ช่อง 9MCOT</ref><ref>"พื้นที่ใช้สอยรวม 274,192 ตารางเมตร" ไม่รวมของสถานีของสายสีน้ำเงิน</ref> ก่อสร้างด้วยงบประมาณ 15,988 ล้านบาท<ref>[http://www.bangsue-rangsitredline.com/file/12-61-1.pdf ตารางสรุปแผนงานและผลงานความก้าวหน้าของการก่อสร้าง ประจำเดือนธันวาคม 2561 ของสัญญาที่ 1] โครงการรถไฟชานเมืองสายสีแดง</ref> ประกอบด้วยชานชาลา 26 ชานชาลา เป็นชานชาลาของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] 24 ชานชาลา และของ[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]] 2 ชานชาลา
-โครงการสถานีกลางบางซื่อมีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 ในสมัยรัฐบาล [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบ [[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง]] (อ้างอิงจากวีดีทัศน์นำเสนอโครงการระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงซึ่งนำเสนอในปี พ.ศ.2553) โดยมีโครงสร้างสถานีจำนวน2ชั้น ประกอบด้วยชั้นที่1 รองรับรถไฟทางไกล และชั้นที่2 รองรับรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง แต่ในปีเดียวกันเกิดการยุบสภา โครงการจึงหยุดชะงัก
 
== ประวัติ ==
-โครงการจึงมาเริ่มดำเนินการก่อสร้างในปี พ.ศ. 2556 ในสมัยรัฐบาล [[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]] โดยใช้แบบตามโครงสร้างเดิม ในปีเดียวกันหลังจากการก่อสร้างได้ไม่นาน [[ชัชชาติ สิทธิพันธุ์]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ได้ขอให้ชะลอการก่อสร้างเพื่อปรับแบบสถานีกลางบางซื่อ โดยเพิ่มชั้นที่3 เพื่อรองรับรถไฟฟ้าความเร็วสูง แต่ในปีถัดมา พ.ศ. 2557 เกิดการยุบสภา โครงการจึงหยุดชะงัก
-โครงการสถานีกลางบางซื่อมีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 ในสมัยรัฐบาล [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] โดยอนุมัติเข้าเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบ [[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง]] (อ้างอิงจากวีดีทัศน์นำเสนอโครงการระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงซึ่งนำเสนอในปี พ.ศ.2553) โดยเดิมกำหนดให้มีโครงสร้างสถานีจำนวน 2ชั้น ประกอบด้วยชั้นที่1 รองรับได้แก่ชั้นรถไฟทางไกล และชั้นที่2 รองรับสำหรับรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิส่วนต่อขยาย แต่ในปีเดียวกันเกิดการยุบสภา โครงการจึงหยุดชะงัก ลง
 
-โครงการจึงต่อมาเริ่มดำเนินการก่อสร้างในปี พ.ศ. 2556 ในสมัยรัฐบาล [[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]] ได้อนุมัติการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และสถานีกลางบางซื่อ ใน พ.ศ. 2556 โดยให้ใช้แบบตามโครงสร้างเดิมไปพลางก่อน ในปีเดียวกันแต่หลังจากการก่อสร้างได้ไม่นาน [[ชัชชาติ สิทธิพันธุ์]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ได้ขอให้ชะลอการก่อสร้างเพื่อปรับแบบสถานีกลางบางซื่อ โดยเพิ่มชั้นที่ 3 เพื่อรองรับโครงการรถไฟฟ้าความเร็วสูง ตามนโยบายประเทศไทย 2020 และงบประมาณสองล้านล้านบาท แต่ในปีถัดมา พ.ศ. 2557 เกิดการยุบสภา โครงการจึงหยุดชะงักลง และทำให้การก่อสร้างต้องล่าช้าเนื่องมาจากการปรับแบบ
-ในปี พ.ศ. 2557 รัฐบาล [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา|พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] และ [[กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)|กระทรวงคมนาคม]] ได้ดำเนินโครงการต่อ โดยปรับแบบสถานีกลางบางซื่อ ดังนี้ ชั้นที่1 เป็นพื้นที่สำหรับห้องจำหน่ายตั๋วโดยสาร ชั้นที่2 เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟที่ใช้รางขนาด 1.000 เมตร ประกอบด้วยรถไฟทางไกล 8 ชานชาลา [[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง]] 4ชานชาลา และชั้นที่3 เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟที่ใช้รางขนาด 1.435 เมตร ประกอบด้วย [[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] (Airport Rail Link) 2ชานชาลา รถไฟฟ้าความเร็วสูงทุกสาย จำนวน10ชานชาลา โดยสถานีกลางบางซื่อกำหนดเปิดใช้งานในปี พ.ศ. 2564 รวมระยะเวลาก่อสร้างตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2556 เป็นเวลา 8 ปี
 
-ในปี พ.ศ. 2557 รัฐบาล [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา|พลคสช.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] และ [[กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)|กระทรวงคมนาคม]] ได้ดำเนินโครงการต่อ โดยปรับแบบสถานีกลางบางซื่ออีกครั้ง ดังนี้คือ ชั้นที่ 1 เป็นพื้นที่สำหรับห้องจำหน่ายตั๋วโดยสาร ชั้นที่ 2 เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟที่ใช้รางขนาด 1.000 เมตร ประกอบด้วยรถไฟทางไกล 8 ชานชาลา และ [[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง]] 4 ชานชาลา และชั้นที่ 3 เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟที่ใช้รางขนาด 1.435 เมตร ประกอบด้วย [[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] (Airport Rail Link) และรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน 2 ชานชาลา รถไฟฟ้าความเร็วสูงทุกสายตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน10ชานชาลา โดยสถานีกลางบางซื่อกำหนดเปิดใช้งานในปี4 พ.ศ.ชานชาลา 2564รถไฟฟ้าความเร็วสูงสายเหนือ รวมระยะเวลาก่อสร้างตั้งแต่และรถไฟฟ้าความเร็วสูงสายใต้ ปีจำนวนสายละ พ.ศ.2 2556ชานชาลา เป็นเวลารวมทั้งสิ้น 810 ชานชาลา ปี
สถานีกลางบางซื่อมีความยาว 596.6 เมตร ความกว้าง 244 เมตร ความสูง 43 เมตร พื้นที่ใช้สอยรวม 274,192 ตารางเมตร<ref name=Veera>รายการฟังหูไว้หู. ออกอากาศเมื่อ 1 กรกฎาคม 2562. ช่อง 9MCOT</ref><ref>"พื้นที่ใช้สอยรวม 274,192 ตารางเมตร" ไม่รวมของสถานีของสายสีน้ำเงิน</ref> ก่อสร้างด้วยงบประมาณ 15,988 ล้านบาท<ref>[http://www.bangsue-rangsitredline.com/file/12-61-1.pdf ตารางสรุปแผนงานและผลงานความก้าวหน้าของการก่อสร้าง ประจำเดือนธันวาคม 2561 ของสัญญาที่ 1] โครงการรถไฟชานเมืองสายสีแดง</ref> ประกอบด้วยชานชาลา 26 ชานชาลา เป็นชานชาลาของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] 24 ชานชาลา และของ[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]] 2 ชานชาลา
 
==ชานชาลา==