ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทพระวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น การแก้ไขแบบเห็นภาพ
Wayuwiki (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 121:
ปราสาทพระวิหารคือมรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ มิใช่ของประเทศหรือกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่ง เพราะมีความเกี่ยวข้องกับชนหลายเผ่าพันธุ์ และหลายคติความเชื่อ<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 18-19.</ref> ในอดีตนั้น เทือกเขาพนมดงรักเป็นสถานที่ติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างที่ราบสูงโคราชกับที่ราบเขมรต่ำ การสถาปนาปราสาทพระวิหารเป็นแหล่งศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของคนท้องถิ่นและผู้นับถือศาสนาฮินดูมีขึ้นในรัชสมัย[[พระเจ้าชัยวรมันที่ 2]]<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 34.</ref>
 
ศิลาจารึกที่ปราสาทเขาพระวิหาร เรียกว่า “ศิลาจารึกศิวศักติ” หรือ “ศิลาจารึก K. ๓๘๒” สลักขึ้นด้วย[[ภาษาสันสกฤต]] ตัวอักษร[[เทวนาครี]] เป็นศิลาจารึกที่บอกเล่าเรื่องราวให้ทราบว่าถิ่นที่อยู่อาศัยของ “[[ชาวกูย|ชาวกวย]]” หรือ “[[ชาวกูย]]” ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองที่ตั้งหลักแหล่งอาศัยอยู่บนเทือก[[ทิวเขาพนมดงรัก|เขาพนมดงรัก]] ในดินแดนอิสานประเทศมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์จนกระทั่งเข้าสู่ยุคเริ่มต้นประวัติศาสตร์สมัย “[[อาณาจักรฟูนัน]]” หรือ “อาณาจักรสุวรรณภูมิ” เรืองอำนาจขึ้นในคาบสมุทรอินโดจีน กษัตริย์ฟูนันได้สร้างปราสาทเทพบิดรไว้บน[[ทิวเขาพนมดงรัก|ภูเขาพนมดงรัก]] มอบหมายให้ชาวพื้นเมืองรักษา
ตามจารึกศิวะสักติ พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ทรงกำหนดหลายพื้นที่บริเวณเขาพระวิหารเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภวาลัยแห่งเขาพระวิหาร เป็นเขตของเจ้าพื้นเมืองของตระกูลพระนางกัมพูชาลักษมี พระมเหสีของพระองค์ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างศาสนสถานบนเขาพระวิหาร<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 36.</ref> ต่อมา [[พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1]] โปรดให้สถาปนาพระภัทเรศวรแห่งลิงคปุระไว้ ณ ยอดเขาพระวิหารด้วย อันเป็นการให้ความสำคัญแก่เขาพระวิหารในฐานะภูเขาศักดิ์สิทธิ์ที่สิงสถิตของบรรพบุรุษของชนชาติจามและขอม<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 37-38.</ref> นอกจากนี้ ยังทรงทำให้ปราสาทเป็นศูนย์กลางแห่งความเชื่อ พิธีกรรมเกี่ยวกับบรรพบุรุษ และประเพณีสักการบูชาอันพ้องกับเทศกาลของเกษตรกร ความนิยมในการประกอบพิธีกรรมที่ปราสาทพระวิหารนำไปสู่การขยายตัวของชุมชนใกล้เคียง<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 39-40.</ref> ตามจารึกกล่าวไว้ว่าพระองค์ส่ง "ทิวากรบัณฑิต" มาบวงสรวงพระศิวะทุกปี นอกจากนี้ยังมีชุมชนโดยรอบที่พระมหากษัตริย์ทรงอุทิศไว้ให้รับใช้เทวสถาน ชุมชนที่มีชื่อในจารึกอย่างเช่น กุรุเกษตร, พะนุรทะนง เป็นต้น<ref name="สารคดี"/> ต่อมาปราสาทพระวิหารได้กลายเป็นแหล่งจาริกแสวงบุญสำคัญในรัชสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ตาม"เอกสารประวัติกัมพุพงศ์ และองค์กรแห่งพระราชการ พร้อมทั้งพระประวัติของพระเจ้าแผ่นดินองค์อื่น"<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 41-42.</ref>
 
ตามจารึกศิวะสักติ พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ทรงกำหนดหลายพื้นที่บริเวณเขาพระวิหารเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภวาลัยแห่งเขาพระวิหาร เป็นเขตของเจ้าพื้นเมืองของตระกูลพระนางกัมพูชาลักษมี พระมเหสีของพระองค์ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างศาสนสถานบนเขาพระวิหาร<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 36.</ref> ต่อมา [[พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1]] โปรดให้สถาปนาพระภัทเรศวรแห่งลิงคปุระไว้ ณ ยอดเขาพระวิหารด้วย อันเป็นการให้ความสำคัญแก่เขาพระวิหารในฐานะภูเขาศักดิ์สิทธิ์ที่สิงสถิตของบรรพบุรุษของชนชาติจามและขอม<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 37-38.</ref> นอกจากนี้ ยังทรงทำให้ปราสาทเป็นศูนย์กลางแห่งความเชื่อ พิธีกรรมเกี่ยวกับบรรพบุรุษ และประเพณีสักการบูชาอันพ้องกับเทศกาลของเกษตรกร ความนิยมในการประกอบพิธีกรรมที่ปราสาทพระวิหารนำไปสู่การขยายตัวของชุมชนใกล้เคียง<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 39-40.</ref> ตามจารึกกล่าวไว้ว่าพระองค์ส่ง "ทิวากรบัณฑิต" มาบวงสรวงพระศิวะทุกปี นอกจากนี้ยังมีชุมชนโดยรอบที่พระมหากษัตริย์ทรงอุทิศไว้ให้รับใช้เทวสถาน ชุมชนที่มีชื่อในจารึกอย่างเช่น กุรุเกษตร, พะนุรทะนง เป็นต้น<ref name="สารคดี" /> ต่อมาปราสาทพระวิหารได้กลายเป็นแหล่งจาริกแสวงบุญสำคัญในรัชสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ตาม"เอกสารประวัติกัมพุพงศ์ และองค์กรแห่งพระราชการ พร้อมทั้งพระประวัติของพระเจ้าแผ่นดินองค์อื่น"<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 41-42.</ref>
 
=== การก่อสร้าง ===