ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สฤษดิ์ ธนะรัชต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 99:
ในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พลเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต์ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม<ref>ราชกิจจานุเบกษา,[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/A/033/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๐ ราย)] เล่ม 74 ตอน 33ก วันที่ 1 เมษายน 2500</ref>
 
ในวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2500 ดำรงตำแหน่ง[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม]] อันเป็นรัฐบาลชุดสุดท้ายของจอมพล ป. พิบูลสงคราม แต่หลังจากนั้น 10 วันก็ลาออก สาเหตุเกี่ยวข้องกับ[[การเลือกตั้งในประเทศไทยครั้งที่ 9|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500]]<ref>[http://www.parliament.go.th/news/news_detail.php?prid=1555 ปัญหาความ "ศักดิ์สิทธิ์" ของการเลือกตั้ง จากปี 2500 เลือกตั้ง "สกปรก" ถึงปี 2549 เลือกตั้ง "ตลก-โจ๊ก"]</ref> ซึ่งมีการกล่าวขานว่าเป็นการเลือกตั้งสกปรก ซึ่งผลคือ [[พรรคเสรีมนังคศิลา]] ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้รับเสียงข้างมาก และได้ตั้งรัฐบาล ท่ามกลางความวุ่นวายอย่างหนักจากการเดินประท้วงของประชาชนจำนวนมาก ที่เรียกร้องให้จอมพล ป. พิบูลสงครามและ[[เผ่า ศรียานนท์|พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์]] อธิบดีกรมตำรวจ ลาออกจากตำแหน่ง เมื่อสถานการณ์ลุกลาม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้แต่งตั้งให้จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้บัญชาการ 3 เหล่าทัพ เพื่อคอยควบคุมสถานการณ์ แต่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์สั่งไม่ให้ทหารทำอันตรายประชาชนที่เดินขบวนชุมนุมประท้วง และเป็นผู้นำประชาชนเข้าพบจอมพล ป. ที่ทำเนียบ ทำให้กลายเป็นขวัญใจของประชาชนทันที จนได้รับฉายาในตอนนั้นว่า ''"วีรบุรุษมัฆวานฯ"''<ref>[http://invisiblenews.exteen.com/20061018/entry รัฐประหาร 19 กันยา ในสายตาของ ธเนศ วงศ์ยานนาวา ]</ref>{{อ้างอิงดีกว่า}} จากเหตุการณ์ดังกล่าว และเห็นว่ารัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามขาดความชอบธรรมในการปกครองบ้านเมืองแล้ว จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์จึงประกาศลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม<ref name="วี">[[วีซีดี]]ชุดบันทึกเมืองไทย ดำเนินรายการ โดย [[สรยุทธ สุทัศนะจินดา]] พ.ศ. 2540</ref>วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2500 รัฐมนตรีดังต่อไปนี้ได้ขอกราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/A/076/1374.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ รัฐมนตรีลาออกและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ พลตรี ศิริ สิริโยธิน พลโท ถนอม กิตติขจร พลโท ประภาส จารุเสถียร พลอากาศโท เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร ลาออก แต่งตั้งจอมพล ป. พิบูลสงคราม)]</ref> คงเหลือแต่ตำแหน่ง[[ผู้บัญชาการทหารบก]]เพียงอย่างเดียว
 
[[ไฟล์:Relief of the life of Sarit Dhanarajata (2).jpg|thumb|250px|รูปปั้นนูนต่ำชีวประวัติของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ณ อนุสาวรีย์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ที่[[จังหวัดขอนแก่น]] แสดงภาพเหตุการณ์[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500|รัฐประหารในปี พ.ศ. 2500]]]]