ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ห้องอักษรจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
[[Fileไฟล์:John searle2.jpg|thumb|John Searle ผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการทดลองทางความคิดว่าด้วยห้องอักษรจีน]]
'''ข้อคิดเห็นว่าด้วยห้องอักษรจีน''' ({{lang-en|the Chinese room argument}}) เสนอว่า ไม่ว่าจะออกแบบโปรแกรมให้ซับซ้อนเพียงใด ก็ไม่สามารถสร้าง "[[จิต]]" (mind) "[[Intentionality|เจตจำนง]]" (intentionality) หรือ "[[Consciousness|ความตื่นรู้]]" (consciousness) ให้เกิดขึ้นใน[[คอมพิวเตอร์]]ได้ ไม่ว่าคอมพิวเตอร์นั้นจะสามารถตอบสนองได้เหมือนมนุษย์มาก หรือตอบสนองได้ด้วยลักษณะที่ดูมีความฉลาดอย่างมากเพียงใดก็ตาม ข้อถกเถียงนี้ได้รับการเสนอขึ้นเป็นครั้งแรกโดย[[นักปรัชญา]]ชื่อ John Searle ในบทความเรื่อง ''"Minds, Brains, and Programs"'' ซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร ''Behavioral and Brain Sciences'' เมื่อ ค.ศ. 1980 ซึ่งต่อมาได้รับการวิเคราะห์ต่อยอดอย่างกว้างขวาง ใจความสำคัญของข้อถกเถียงนี้คือ[[การทดลองทางความคิด]]ที่เป็นที่รู้จักในชื่อ '''ห้องอักษรจีน''' ({{lang-en|the Chinese room}})<ref name="Roberts">{{cite journal|last1=Roberts|first1=Jacob|title=Thinking Machines: The Search for Artificial Intelligence|journal=Distillations |date=2016|volume=2|issue=2|pages=14–23|url=https://www.chemheritage.org/distillations/magazine/thinking-machines-the-search-for-artificial-intelligence|accessdate=17 February 2017}}</ref>
 
บรรทัด 16:
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{โครง}}
[[หมวดหมู่:การทดลองทางความคิด]]
{{โครง}}