ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสังฆราชกัมพูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เป็น ''มหาสังฆราชในคณะธรรมยุตติกนิกายในพระราชอาณาจักรฯ'' ไม่ใช่''มหาสังฆราชในพระราชอาณาจักรฯ''
บรรทัด 24:
ใน ค.ศ. 1981 คณะสงฆ์กัมพูชามีการปรับปรุงโครงสร้างตามอย่าง[[คณะสงฆ์เวียดนาม]] และพระ[[เทพ วงศ์]] (ទេព វង្ស ''เทพ วงฺส'') ได้รับเลือกเป็นผู้นำคณะสงฆ์ที่ปรับปรุงใหม่<ref>{{Harv|Harris|2001|p=75}}</ref><ref name="tv1">[[The Cambodia Daily|Cambodia Daily]] article on [http://ki-media.blogspot.com/2006/05/former-member-of-vietnamese-installed.html KI Media]</ref>
 
ถึงปี ค.ศ. 1991–2006 หลังจากกัมพูชาลงนามใน[[ข้อตกลงสันติภาพปารีส]] [[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ]] ได้ทรงสถาปนาพระเทพ วงศ์ เป็น'''สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี''' (សម្ដេចព្រះមហាសុមេធាធិបតី ''สมฺเตจพฺระมหาสุเมธาธิบตี'') สมเด็จพระสังฆราชในคณะ[[มหานิกาย]] และพระสถาปนาสมเด็จพระองค์ครู [[บัวร์ กรี]] (បួរ គ្រី ''บัวร กรี'') เป็น'''สมเด็จพระสุคนธาธิบดี''' (សម្តេចព្រះសុគន្ធាធិបតី ''สมฺเตจพฺระสุคนฺธาธิบตี'') สมเด็จพระสังฆราชในคณะ[[ธรรมยุติกนิกาย]] ทำให้ประเทศกัมพูชามี[[สังฆราช]] 2 พระองค์ และ[[รัฐธรรมนูญกัมพูชา]]ยังกำหนดให้สมเด็จพระสังฆราชทั้งสองพระองค์เป็นสมาชิกโดยตำแหน่งของ[[กรมปรึกษาราชบัลลังก์]] ซึ่งมีหน้าที่คัดเลือกผู้สืบราชสันตติวงศ์เป็น[[พระมหากษัตริย์กัมพูชา]]<ref>{{Harv|Harris|2001|p=77}}</ref>
 
ถึงปี ค.ศ. 2006 พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ทรงสถาปนาสมเด็จเทพ วงศ์ เป็น'''สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี''' (សម្តេចព្រះអគ្គមហាសង្ឃរាជាធិបតី ''สมเตจพระอคฺคมหาสงฺฆราชาธิบตี'') สมเด็จพระมหาสังฆราชในพระราชอาณาจักรกัมพูชา นับเป็นบุคคลแรกในรอบ 150 ปีที่ได้รับตำแหน่งพิเศษดังกล่าว<ref name="tv1" /> และสถาปนาพระนนท์ แงด (នន្ទ ង៉ែត) เป็นสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี สมเด็จพระสังฆนายกในคณะมหานิกายมาจนถึงปัจจุบัน<ref name="tv1" /> ต่อมาในปี ค.ศ. 2007 จึงได้มีการสถาปนาสมเด็จบัวร์ กรี ขึ้นเป็น'''สมเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี''' (សម្តេចព្រះអភិសិរីសុគន្ធាមហាសង្ឃរាជាធិបតី ''สมฺเตจพฺระอภิสิรีสุคนฺธามหาสงฺฆราชาธิบตี'') มีฐานะเป็นสมเด็จพระมหาสังฆราชอีกพระองค์หนึ่งในคณะธรรมยุตติกนิกายในพระราชอาณาจักรกัมพูชา โดยไม่ปรากฏว่ามีการแต่งตั้งผู้ใดขึ้นดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆนายกในคณะธรรมยุติกนิกายทดแทนอย่างเช่นในคณะมหานิกาย
 
== รายพระนามประมุขสงฆ์แห่งกัมพูชา ==
บรรทัด 53:
| 5 || [[สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ฮวต ตาต วชิรปญฺโญ)]] || ហួត តាត<br>ฮวต ตาต || វជិរបញ្ញោ<br>วชิรปญฺโญ || วัดอุณาโลม || 1892-1975<br>2435-2518 || 83 || 1970-1975<br>2513-2518 || 5 || <small>สิ้นพระชนม์เนื่องจากถูกกองทัพ[[เขมรแดง]]ปลงพระชนม์</small>
|-
| 6 || [[สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี (เทพ วงศ์)|สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (เทพ วงศ์)]] || ទេព វង្ស<br>เทพ วงศ์ || ไม่ทราบ || วัดอุณาโลม || 1932-ปัจจุบัน<br>2475-ปัจจุบัน || 87 || 1991-2006<br>2534-2549 || 15 || <small>เลื่อนพระยศสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี</small>
|-
| 7 || [[สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (นนท์ แงด)]] || នន្ទ ង៉ែត<br>นนท์ แงด || ไม่ทราบ || วัดปทุมวดี<ref>วัดปทุมวดีได้ถูกพระสงฆ์คณะมหานิกายเข้าครอบครองขณะที่ยังไม่มีการแยกคณะสงฆ์ในช่วงหลังยุคการปกครองของเขมรแดง ดูรายละเอียดที่ {{Cite web |url=http://www.haotrai.com/kh/%E1%9E%8A%E1%9F%86%E1%9E%8E%E1%9E%B9%E1%9E%84%E1%9E%95%E1%9F%92%E1%9E%9F%E1%9F%81%E1%9E%84%E1%9F%97/90/%E1%9E%94%E1%9F%92%E1%9E%9A%E1%9E%9C%E1%9E%8F%E1%9F%92%E1%9E%8F%E1%9E%B7-%E1%9E%9C%E1%9E%8F%E1%9F%92%E1%9E%8F%E1%9E%94%E1%9E%91%E1%9E%BB%E1%9E%98%E1%9E%9C%E1%9E%8F%E1%9E%B8%E1%9E%9A%E1%9E%B6%E1%9E%87%E1%9E%9C%E1%9E%9A%E1%9E%B6%E1%9E%98|title=ប្រវត្តិ វត្តបទុមវតីរាជវរាម |last=ហោត្រៃ |website=haotrai.com |access-date=2019-10-07}}</ref> || 1922-ปัจจุบัน<br>2465-ปัจจุบัน || 97 || 2006-ปัจจุบัน<br>2549-ปัจจุบัน || 13 || <small>ข้อมูล ณ ปี พ.ศ. 2562</small>
บรรทัด 85:
| 7 || สมเด็จพระสังฆราช (ฮี เจีย) || ហ៊ី ជា<br>ฮี เจีย || ไม่ทราบ || วัดปทุมวดี || ไม่ทราบ-1975<br>ไม่ทราบ-2518 || ไม่ทราบ || 1975<br>2518 || ไม่ถึงหนึ่งสัปดาห์<ref name ="ประวัติวัดปทุมวดี" /> || <small>สมัยระบอบ[[เขมรแดง]]</small>
|-
| 8 || [[สมเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี (บัวร์ กรี)]] || បួរ គ្រី<br>บัวร์ กรี || ไม่ทราบ || วัดปทุมวดี || 1940-ปัจจุบัน<br>2483-ปัจจุบัน || 79 || 1991-ปัจจุบัน<br>2534-ปัจจุบัน || 28<ref>ดำรงพระยศสมณศักดิ์เป็น "สมเด็จพระสุคนธาธิบดี" จนถึง พ.ศ. 2550 จึงได้รับการสถาปนาพระยศเพิ่มเดิม ให้เป็นสมเด็จพระมหาสังฆราชอีกพระองค์หนึ่ง</ref> || <small>ข้อมูล ณ ปี พ.ศ. 2562</small>
|}
 
บรรทัด 101:
|}
 
อนึ่ง การเลือกพระเทพ วงศ์ เป็นประธานการกสงฆ์กัมพูชาโดยรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชาภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี[[ฮุน เซน]] นั้น ปรากฏว่าไม่เป็นที่ยอมรับของบรรดาพระสงฆ์กัมพูชาที่ลี้ภัยทางการเมืองอยู่ต่างประเทศ เนื่องจากพระเทพ วงศ์ ด้อยอาวุโสทั้งอายุและพรรษากว่าพระหลายๆ รูปในเวลานั้น คณะสงฆ์ดังกล่าวจึงได้ประชุมกันและคัดเลือกให้[[พระมหาโฆสนันทะโฆสานนท์]] (Preah Maha Ghosananda) ทำหน้าที่เป็นประธานคณะสงฆ์กัมพูชา โดยไม่ได้เกี่ยวข้องหรือเป็นที่ยอมรับจากรัฐบาลที่พนมเปญแต่อย่างใด ท่านผู้นี้อยู่ทำหน้าที่เป็นประยู่ในตำแหน่งดังกล่าวระหว่างปี ค.ศ. 1988–2007<ref>In 1988, Maha Ghosananda was elected Supreme Patriarch by a group of exiled monks in Paris. During this same period, Tep Vong held the same office in the unified Cambodian sangha. After 1991, Tep Vong was recognized as head of the Maha Nikaya in Cambodia. {{Harv|Harris|2001|p=70}}</ref>
 
=== สมเด็จพระมหาสังฆราชในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ===
บรรทัด 114:
! หมายเหตุ
|-
| 1 || [[สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี (เทพ วงศ์)]] || ទេព វង្ស<br>เทพ วงศ์ || ไม่ทราบ || มหานิกาย || 2006–ปัจจุบัน<br>2549-ปัจจุบัน || 13 || <small>ข้อมูล ณ ปี พ.ศ. 2562</small>}
|-
| 2 || [[สมเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี (บัวร์ กรี)]] || បួរ គ្រី<br>บัวร์ กรี || ไม่ทราบ || ธรรมยุติกนิกาย || 2007-ปัจจุบัน<br>2550-ปัจจุบัน || 12 || <small>ข้อมูล ณ ปี พ.ศ. 2562</small>
|}