ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้ามานูแวลที่ 1 แห่งโปรตุเกส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Darkydury (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''พระเจ้ามานูแวล''' หรือ '''มานูแวลผู้มีโชค''' ({{Lang-pt|Manuel O Afortunado}}) (31 พฤษภาคม ค.ศ. 1469 – ธันวาคม ค.ศ. 1521) เป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสที่ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1495 จนถึง ค.ศ. 1521 รัชสมัยของพระองค์มีเหตุการณ์สำคัญ คือ การขับไล่ชาวมัวร์มุสลิมและชาวยิวที่ไม่ยอมเข้ารับการทำพิธีศีลล้างบาปออกจากประเทศ, นโยบายอันชาญฉลาดเพื่อวางตัวเป็นกลางในความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับสเปน และการสานต่อการขยายอาณาเขตทางทะเล โดยเฉพาะในอินเดียและบราซิล
{{เก็บกวาด}}
'''พระเจ้ามานูแวล''' หรือ '''มานูแวลผู้มีโชค''' ({{Lang-pt|Manuel O Afortunado}}) (31 พฤษภาคม ค.ศ. 1469 – ธันวาคม ค.ศ. 1521) เป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสที่ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1495 จนถึง ค.ศ. 1521 รัชสมัยของพระองค์มีเหตุการณ์สำคัญ คือ การขับไล่ชาวมัวร์และยิวที่ไม่ยอมเข้ารับการทำพิธีศีลล้างบาปออกจากประเทศ, นโยบายอันชาญฉลาดเพื่อวางตัวเป็นกลางในความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับสเปน และการสานต่อการขยายอาณาเขตทางทะเล โดยเฉพาะในอินเดียและบราซิล
 
== วัยเยาว์ ==
มานูแวลเสด็จพระราชสมภพที่[[อาลกูเชตือ]]ในวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1469 โดยทรงเป็นบุตรคนที่แปดหรือเก้าของอิงฟังตือเฟร์นังดูแห่งโปรตุเกสเจ้าชายเฟร์นังดู ดยุคแห่งวีเซวซึ่งเป็น พระราชโอรสของ[[พระเจ้าดูวาร์ตึที่วาร์ตือที่ 1 แห่งโปรตุเกส|พระเจ้าดูวาร์ตือที่ 1]] และพระอนุชาของ[[พระเจ้าอาฟงซูที่ 5 แห่งโปรตุเกส|พระเจ้าอาฟงซูที่ 5]] พระมารดาของพระองค์ คือ อิงฟังตาเจ้าหญิงเบียตริซ ดิ อาเวโร ธิดาของเจ้าชายฌูเวา ทั้งพระบิดาและพระมารดาของมานูแวลพระองค์ต่างเป็นพระราชนัดดาของ[[พระเจ้าฌูเวาที่ 1 แห่งโปรตุเกส|พระเจ้าฌูเวาที่ 1]] โดยมานูแวลเป็นบุตรคนสุดท้องในบรรดาพี่น้องของพระองค์ทั้งคู่ หนึ่งในพระเชษฐภคินีคนหนึ่งของพระองค์ คือ [[เลโอนอร์ซึ่งเป็นพระราชินีแห่งโปรตุเกสจากการอภิเษกวีเซว|เลโอนอร์]] ได้สมรสกับ[[พระเจ้าฌูเวาที่ 2 และแห่งโปรตุเกส|พระเจ้าฌูเวาที่ 2]] ทายาทผู้สืบทอดบัลลังก์ต่อจากพระเจ้าอาฟงซูที่ 5 พระเชษฐภคินีอีกคน คือ อิซาเบลซึ่ง ได้สมรสกับเฟร์นังดู ดยุคที่ 3 แห่งบรากังซาผู้ทรงอำนาจ พระองค์ยังเป็นน้องชายของดิเอโกซึ่งได้สืบทอดตำแหน่งเป็นดยุคแห่งวีเซวต่อจากบิดาซึ่งถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 1470 หลังขณะมานูแวลเกิดมีพระชนมายุได้เพียงปีเดียว 1 พรรษา พระบิดาของพระองค์ได้ถึงแก่กรรม ดิเอโก พระเชษฐาของมานูแวลได้ขึ้นเป็นดยุคแห่งวีเซวต่อจากบิดา
 
เมื่อมานูแวลโตขึ้น ขุนนางโปรตุเกสได้สมคบคิดกันล้มล้างอำนาจของพระเจ้าฌูเวาที่ 2 ซึ่งเป็นทั้งลูกพี่ลูกน้องและพี่เขยของมานูแวล สุดท้ายในปี ค.ศ. 1481 ดิเอโก ดยุคแห่งวีเซว พระเชษฐาของมานูแวลถูกสังหารตามคำสั่งของกษัตริย์พระเจ้าฌูเวาที่ 2 มานูแวลในวัย 15 พรรษาได้สืบทอดทั้งทรัพย์สินที่ดินและตำแหน่งของพระเชษฐา ในปี ค.ศ. 1483 เฟร์นังดู ดยุคแห่งบรากังซา พี่เขยของมานูแวลถูกตัดหัวที่[[แอวูราหลังก่อกบฏต่อพระเจ้าฌูเวาที่ 2วูรา]]ด้วยข้อหาทรยศขายชาติ บุตรของเขา (ซึ่งเป็นพระภาคิไนยของมานูแวล) ดยุคถูกขับไล่ออกจากประเทศไปลี้ภัยอยู่ใน[[ราชบัลลังก์กัสติยา|กัสติยา]]
 
ในเวลานั้นโปรตุเกสกับกัสติยากำลังขับเคี่ยวแย่งชิงความเป็นมหาอำนาจทางทะเลกันมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ที่มีการค้นพบทวีปอเมริกา ความขัดแย้งทางทะเลของทั้งสองอาณาจักรนำไปสู่การทำ[[สนธิสัญญาตอร์เดซียัสที่]]ซึ่งลงนามกันในวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1494 สนธิสัญญาดังกล่าวได้แบ่งสิทธิ์ในการสำรวจทางทะเลโดยยกให้โลกซีกตะวันออกให้แก่เป็นของโปรตุเกส และส่วนโลกซีกตะวันตกให้แก่เป็นของสเปน (คือกัสติยาและ[[ราชอาณาจักรอารากอน|อารากอน]])
 
กษัตริย์ของทั้งสองอาณาจักรต่างมุ่งหวังที่จะรวมดินแดนใน[[คาบสมุทรไอบีเรีย]]ให้อยู่ภายใต้การปกครองของราชบัลลังก์เดียว เพื่อสานกระชับสายสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นขึ้นและไม่เป็นศัตรูต่อกัน ทั้งสองราชอาณาจักรจึงตกลงร่วมกันใน[[สนธิสัญญาอัลกาโซวาสให้อาฟงซูอัลกาโซวัส]]ให้เจ้าชายอาฟงซู พระราชโอรสเพียงคนเดียวของกษัตริย์พระเจ้าฌูเวาที่ 2 แห่งโปรตุเกสสมรสกับเจ้าหญิง[[อิซาเบลแห่งอารากอน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส|อิซาเบล]] พระราชธิดาคนโตของสองกษัตริย์[[พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งกัสติยาและอารากอน]]และ[[สมเด็จพระราชินีนาถอิซาเบลที่ 1 แห่งกัสติยา|พระราชินีนาถอิซาเบลที่ 1 แห่งกัสติยา]] เจ้าหญิงอิซาเบลกับเจ้าชายอาฟงซูสมรสกันในปี ค.ศ. 1491 อิซาเบลได้สมรสกับอาฟงซู ทว่าหลังการสมรสได้เพียงไม่กี่เดือนเจ้าชายอาฟงซูก็กลับประสบอุบัติเหตุส้นสิ้นพระชนม์ระหว่างแข่งม้า เจ้าหญิงอิซาเบลจึงซึ่งตกเป็นม่ายและจึงได้เดินทางกลับไปอยู่ที่ราชสำนักของพระบิดามารดา
 
หลังอาฟงซู สูญเสียพระราชบุตรตามกฎหมายคนสุดท้ายสิ้นพระชนม์ไป พระเจ้าฌูเวาที่ 2 พยายามผลักดันให้ฌอร์ชี ดิ เล็งกาสตรือ บุตรชายนอกสมรสของพระองค์ได้รับการรับรองเป็นพระโอรสตามกฎหมาย แต่ถูกคัดค้านจากขุนนางจึงทำไม่สำเร็จ
 
<br />
== การขึ้นครองราชย์ ==
ในปี ค.ศ. 1493 มานูแวลถูกเรียกตัวมาเข้าร่วมการประชุมสภาซึ่งที่พระเจ้าฌูเวาได้เสนอชื่อพระองค์เป็นทายาทในบัลลังก์ พระเจ้าฌูเวาที่ 2 สวรรคตในวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1495 มานูแวล ลูกพี่ลูกน้องและพระอนุชาของพระมเหสีของพระองค์ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้ามานูแวลที่ 1 เมื่อโดยหลังขึ้นเป็นกษัตริย์ได้เรียกสิ่งแรกๆ ที่พระองค์ทำคือการเรียกตัวบุตรของบรากังซาซึ่งที่ถูกขับไล่ออกจากประเทศของดยุคแห่งบรากังซา (ซึ่งเป็นพระภาคิไนยของพระองค์) กลับมาโปรตุเกสและคืนทั้งทรัพย์สินที่ดินและตำแหน่งเดิมให้
 
ในตอนที่ขณะขึ้นครองราชย์พระเจ้ามานูแวลมีพระชนมายุ 26 พรรษาและยังไม่สมรส เมื่อขึ้นเป็นในฐานะกษัตริย์ พระเจ้ามานูแวลมีความพระองค์จำเป็นต้องมีทายาทตามกฎหมายโดยด่วนเร่งด่วน ด้วยความมุ่งมั่นที่จะรวมราชบัลลังก์ในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นหนึ่งเดียว พระเจ้ามานูแวลจึงหมายตาเจ้าหญิงอิซาเบลแห่งอารากอน ชายาพระชายาม่ายของเจ้าชายอาฟงซู โดยพระเจ้ามานูแวลมีพระชนมายุมากกว่าอิซาเบลเจ้าหญิงหนึ่งพรรษาและว่ากันว่าพระองค์เคยตามอารักขาอิซาเบลเจ้าหญิงเมื่อครั้งที่พระนางเดินทางจากกัสติยามาโปรตุเกสเพื่อสมรสกับเจ้าชายอาฟงซู
 
เนื่องด้วยสองพระมหากษัตริย์และพระราชินีนาถแห่งผู้ปกครองกัสติยาและอารากอนมีพระราชโอรสด้วยกันเพียงคนเดียว คือ เจ้าชายฆวนซึ่งมีสุขภาพอ่อนแอ จึงมีการทำให้คาดหมายกันว่าหากเจ้าชายสิ้นพระชนม์โดยไม่มีผู้สืบทอดตำแหน่งเพศชาย เจ้าหญิงอิซาเบลซึ่งเป็นพระราชธิดาคนโตของพระมหากษัตริย์และพระราชินีนาถแห่งกัสติยาและอารากอนทั้งสองจะได้ขึ้นเป็นรัชทายาทคนต่อไป พระมานูแวลจึงประสงค์จะสมรสกับพระนางเพื่อจะได้เป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกส กัสติยา และอารากอน แม้ตัวเจ้าหญิงอิซาเบลจะไม่เต็มใจอย่างมากที่จะสมรสกับกษัตริย์แห่งโปรตุเกส แต่พระนางถูกพระราชบิดามารดากดดันอย่างหนักจนต้องยอมสมรส ทั้งคู่อภิเษกสมรสกันเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1497
 
ในวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1497 เจ้าชายฆวนสิ้นพระชนม์จริงดังคาด อิซาเบลได้รับถูกการประกาศชื่อเป็นรัชทายาทในบัลลังก์กัสติยา กษัตริย์และพระราชินีนาถแห่งกัสติยาได้เชิญในปี ค.ศ. 1498 พระนางและพระสวามีมาร่วมงานเลี้ยงฉลองได้เดินทางไป[[โตเลโด]]และ[[ซาราโกซา]]เพื่อเข้ารับการขึ้นเป็นรัชทายาทในสเปนถวายคำสัตย์ปฏิญาณแห่งความจงรักภักดี โดยขณะเดินทางกลับสเปนอิซาเบลกำลังตั้งครรภ์ได้ห้าเดือน พระนางได้ให้กำเนิดพระราชบุตรในวันที่ 23 สิงหาคม ค.ศ. 1498 ที่ปราสาทซาราโกซา ทารกน้อยถูกตั้งชื่อว่ามิเกล ดิ ลา ปาซ หลังให้กำเนิดพระราชโอรสได้เพียงชั่วโมงเดียวพระนางอิซาเบลก็สวรรคต
 
มิเกล ดิ ลา ปาซกลายเป็นทายาทโดยชอบธรรมในบัลลังก์ของทุกราชอาณาจักรในคาบสมุทรไอบีเรีย แต่เด็กน้อยสิ้นพระชนม์ไปพร้อมกับความหวังที่จะรวมราชอาณาจักรในคาบสมุทรให้กลับมาเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งในปี ค.ศ. 1500 ด้วยพระชนมายุ 3 พรรษา
 
<br />
== พระราชินีคนใหม่ ==
== การอภิเษกสมรสใหม่ ==
พระเจ้ามานูแวลไม่ยอมล้มเลิกความพยายามและได้อภิเษกสมรสใหม่กับพระราชธิดาอีกคนของของกษัตริย์และพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอนกับพระราชินีราชินีนาถอิซาเบลที่ 1 แห่งกัสติยา คือ เจ้าหญิง[[มารีอาแห่งอารากอน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส|มารีอา]] พระขนิษฐาของพระมเหสีคนแรก แต่การสมรสครั้งนี้ต่างจากการสมรสครั้งก่อน คือ พระราชโอรสที่จะเกิดมาจะไม่ได้เป็นทายาทโดยชอบธรรมของราชอาณาจักรกัสติยาและอารากอน เนื่องจากเจ้าหญิง[[สมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา|ฆัวนา]] พระเชษฐภคินีของเจ้าหญิงมารีอาได้สมรสกับฟิลิปแห่งฮาพส์บวร์คและขึ้นเป็นทายาทสายตรงในบัลลังก์แทนที่อิซาเบล (เจ้าหญิงฆัวนาสมรสแล้วกับ[[พระเจ้าเฟลิเปที่ 1 แห่งกัสติยา|ดยุคฟิลิปแห่งฮาพส์บวร์ค]] พระเจ้ามานูแวลจึงสมรสกับเจ้าหญิงมารีอา พระขนิษฐาของพระนางแทน)
 
พิธีอภิเษกสมรสครั้งที่สองของกษัตริย์แห่งโปรตุเกสและเจ้าหญิงแห่งกัสติยาและอารากอนถูกจัดขึ้นในวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1500 ต่อมาทั้งคู่มีพระราชบุตรด้วยกัน 10 คน คือ
 
* [[พระเจ้าฌูเวาที่ 3 แห่งโปรตุเกส]] (ประสูติ ค.ศ. 1502)
* [[อีซาแบลแห่งโปรตุเกส|อิซาเบลแห่งโปรตุเกส]] (ประสูติ ค.ศ. 1503) สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนและจักรพรรดินีแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จากการอภิเษกสมรสกับ[[จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิคาร์ลที่ 5]] ลูกพี่ลูกน้องของพระองค์เอง ทรงเป็นพระราชมารดาของ[[พระเจ้าเฟลิเปที่ 2 แห่งสเปน]]และที่ 1 แห่งโปรตุเกส
* เบียตริซ (ประสูติ ค.ศ. 1504) สมรสกับชาร์ลส์ที่ 3 ดยุคแห่งซาวอย
* ลุยส์แห่งโปรตุเกส (ประสูติ ค.ศ. 1506) บิดาของเอิงเองโตนิโอ บุตรนอกสมรสผู้แสดงตนตัวท้าชิงบัลลังก์โปรตุเกสในปี ค.ศ. 1580
* เฟร์นังดู (ประสูติ ค.ศ. 1507)
* อาฟงซู (ประสูติ ค.ศ. 1509) เจ้าชายพระคาร์ดินัล
* มารีอา (ประสูติ ค.ศ. 1511)
* [[พระเจ้าเองรีกือที่ 1 แห่งโปรตุเกส]] (ประสูติ ค.ศ. 1512)
* ดูวาร์ตึวาร์ตือ (ประสูติ ค.ศ. 1515) บิดาของกาตารินา ดัชเชสแห่งบรากังซา พระอัยกีของ[[พระเจ้าฌูเอาที่ 4 แห่งโปรตุเกส|พระเจ้าฌูเวาที่ 4]] ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์บรากังซาของโปรตุเกส
* เองโตนิโอ (ประสูติ ค.ศ. 1516)
 
มารีอาสวรรคตในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1517 ในที่กรุงลิสบอนซึ่งเป็นพระนางมารีอาสวรรคตด้วยผลข้างเคียงจากการคลอดเองโตนิโอ พระราชบุตรคนสุดท้ายในเมื่อปี ค.ศ. 1516 โดยซึ่งทารกน้อยมีอายุชีวิตอยู่ได้เพียงไม่กี่วัน
 
<br />
== ทายาทในราชบัลลังก์ทั้งสามในคาบสมุทรไอบีเรีย ==
หลังมารีอาสวรรคต พระเจ้ามานูแวลที่ 1 ประสงค์จะสมรสกับเลโอนอร์แห่งออสเตรีย พระราชธิดาของพระราชินีนาถฆัวนาที่ 1 แห่งกัสติยากับพระเจ้าฟิลิปผู้หล่อเหลา พระนางจึงเป็นพระภาคิไนยของพระนางมารีอาแห่งกัสติยา
หลังพระนางมารีอาสวรรคต พระเจ้ามานูแวลที่ 1 ประสงค์จะสมรสกับเจ้าหญิง[[เอเลนอร์แห่งออสเตรีย|เลโอนอร์]] พระราชธิดาของพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา (หรือเจ้าหญิงฆัวนาที่ขึ้นสืบทอดตำแหน่งต่อจากพระราชมารดา) กับพระเจ้าเฟลิเปที่ 1 แห่งกัสติยา (หรือฟิลิปแห่งฮาพส์บวร์ค) เพื่อสานต่อนโยบายการสมรสเพื่อสร้างราชวงศ์ใหม่ที่จะรวมราชอาณาจักรทั้งหมดในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นหนึ่งเดียว [[ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค]]จึงตกลงทำสัญญาสมรสระหว่างเจ้าหญิงเลโอนอร์กับพระเจ้ามานูแวล
 
พิธีอภิเษกสมรสของพระเจ้ามานูแวลกับเลโอนอร์ถูกจัดขึ้นในกรุง[[ลิสบอน]]เมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1519 โดยกษัตริย์แห่งโปรตุเกสมีพระชนมายุอยู่ในวัยช่วงห้าสิบพรรษา ส่วนเจ้าหญิงแห่งกัสติยามีพระชนมายุ 21 พรรษา ทั้งคู่มีพระราชบุตรด้วยกันสองคน คือ
เพื่อสานต่อนโยบายในการสมรสเพื่อสร้างราชวงศ์ที่จะรวมราชอาณาจักรของคาบสมุทรไอบีเรียเป็นหนึ่งเดียว ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คจึงให้สัญญาว่าจะให้เลโอนอร์ พระราชธิดาคนโตของพระราชินีนาถฆัวนาที่ 1 กับพระเจ้าฟิลิปผู้หล่อเหลาสมรสกับพระเจ้ามานูแวลที่ 1 แห่งโปรตุเกสซึ่งเป็นอาเขยของเลโอนอร์มาแล้วถึงสองครั้งจากการสมรสกับอิซาเบลและมารีอา พระมาตุจฉาของเลโอนอร์
 
* การ์โลส (ประสูติ ค.ศ. 1520) สิ้นพระชนม์หลังประสูติได้ไม่นาน
พิธีอภิเษกสมรสของพระเจ้ามานูแวลกับเลโอนอร์ถูกจัดขึ้นในกรุงลิสบอนเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1519 โดยกษัตริย์แห่งโปรตุเกสอยู่ในวัยห้าสิบ ส่วนเจ้าหญิงมีพระชนมายุ 21 พรรษา ทั้งคู่มีพระราชบุตรด้วยกันสองคน คือ
* มารีอา (ประสูติ ค.ศ. 1521)
 
* การ์โลส สิ้นพระชนม์หลังประสูติได้ไม่นาน
* มารีอา
 
สองปีหลังการสมรสพระเจ้ามานูแวลที่ 1 สวรรคตด้วยกาฬโรคในกรุงลิสบอนเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1521
 
<br />
== นโยบายด้านศาสนา ==
การกระทำซึ่งอันเป็นที่โต้แย้งถกเถียงที่สุดในรัชสมัยของพระเจ้ามานูแวลคือการบังคับให้ชาวยิวทุกคนที่อาศัยอยู่ในโปรตุเกสเปลี่ยนศาสนา เนื่องจากอินฟันตาเมื่อครั้งที่ทำการตกลงสัญญาสมรสครั้งแรกกับเจ้าหญิงอิซาเบล เจ้าหญิงแห่งกัสติยาและอารากอนได้ตั้งเงื่อนไขว่าจะยอมเดินทางมาสมรสกับพระเจ้ามานูแวลก็ต่อเมื่อโปรตุเกสกำจัดชาวมุสลิมและชาวยิวทุกคนถูกกำจัดออกไปจากโปรตุเกสประเทศ (ก่อนหน้านี้ในปี ค.ศ. 1492 พระเจ้าฌูเวาที่ 2 ได้เปิดรับชาวยิวหลายพันคนที่ถูกขับไล่ออกมาจากสเปน) ในช่วงต้นเดือนธันวาคม ค.ศ. 1496 พระเจ้ามานูแวลได้ออกกฤษฎีกาให้ชาวยิวและชาวมุสลิมทุกคนออกไปจากประเทศ โดยให้เวลาสิบ 10 เดือน คือ ตั้งแต่เดือนมกราคมจนถึงเดือนตุลาคมของปี ค.ศ. 1497 ไม่เช่นนั้นจะมีโทษประหารชีวิต โดยพระองค์มียังประกาศให้รางวัลให้แก่ผู้แจ้งตำแหน่งที่อยู่เบาะแสของชาวยิวและมุสลิมเป็นทรัพย์สินที่ดินของผู้ที่ชาวยิวและชาวมุสลิมคนคนนั้นแจ้งจับนั้นๆ ขณะที่ผู้ทั้งนี้ชาวยิวและชาวมุสลิมที่เปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์จะได้รับอนุญาตให้อยู่ในโปรตุเกสต่อไป ทว่ามีชาวยิวเพียงไม่กี่คนที่ถูกขับไล่หรือได้รับอนุญาตให้เดินทางออกไปจากประเทศ เนื่องจากพระเจ้ามานูแวลได้ใช้อำนาจทั้งหมดที่มีขัดขวางไม่ให้ชาวยิวเดินทางออกนอกประเทศไป ชาวยิวกว่า 20,000 คนที่พยายามเดินทางออกจากประเทศที่ท่าเรือลิสบอนถูกบังคับให้เข้ารับ[[พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน|การทำพิธีศีลล้างบาป]] ขณะที่ชาวมุสลิมได้โอกาสในการเดินทางออกจากประเทศมากกว่า เนื่องจากกษัตริย์หลีกเลี่ยงไม่อยากมีปัญหากับผู้ปกครองของประเทศปลายทางที่อาจส่งกำลังทหารมาแก้แค้นได้หากพระองค์กระทำกับชาวมุสลิมเช่นเดียวกับชาวยิว
 
ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1497 พระองค์มีคำสั่งให้เอานำตัวเด็กอายุต่ำกว่า 14 ปีที่เกิดจากพ่อแม่ชาวยิวที่ไม่ยอมเปลี่ยนศาสนามาจากพ่อแม่และเพื่อส่งไปให้ชาวคริสต์เลี้ยงดูเพื่อศึกษาคำและสอนของศาสนาคริสต์ ต่อมาทรงขยายช่วงอายุเพิ่มเป็น 20 ปี กระบวนการบังคับให้เปลี่ยนศาสนาเสร็จสิ้นในช่วงปลายปี ค.ศ. 1497 และก่อให้กิดเกิดโศกนาฏกรรมเมื่อพ่อแม่หลายคนยินดีที่จะสังหารบุตรชายของตนดีกว่ายอมให้ถูกส่งไปศึกษาคำสอนของศาสนาคริสต์
 
การบังคับเปลี่ยนศาสนาทำให้เกิดกลุ่ม "ชาวคริสต์ใหม่" ขึ้นในโปรตุเกส ซึ่งโดยคนกลุ่มนี้มีสถานะทางสังคมที่ไม่มั่นคงเนื่องจากถูกมองว่ามีสายเลือดยิว คนกลุ่มนี้ทำให้ถูกกีดกันไม่ให้เข้ารับราชการและไม่ได้รับอนุญาตให้สมรสกับขุนนางหรือชาวคริสต์เดิม ทั้งยังถูกรังความและถูกลักขโมยทรัพย์สิน ในปี ค.ศ. 1506 ชาวคริสต์ใหม่ถูกไล่ล่าอย่างหนัก เพราะประชาชนกล่าวหาว่าสาเหตุที่กาฬโรคระบาดในกรุงลิสบอนเนื่องจากมีคนกลุ่มนี้ซึ่งไม่ได้มีศรัทธาในพระเจ้าอย่างแท้จริงอาศัยอยู่ในเมือง บ้านและวัดของชาวคริสต์ใหม่ถูกเผา ชาวคริสต์ใหม่ถูกสังหารไปกว่า 3,500 คน ผู้มีอำนาจสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ภายในสามวันต่อมา ผู้กระทำผิดฐานสังหารหมู่ถูกตัดสินประหารชีวิต
 
<br />
 
== การสำรวจขยายอาณาเขตทางทะเล ==
รัชสมัยของพระเจ้ามานูแวลที่ 1 โดดเด่นในด้านการสำรวจทางทะเลครั้งสำคัญซึ่งพระองค์ได้ให้การสนับสนุนด้านเงินทุน ในวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1497 พระองค์ได้ส่ง[[วัชกู ดา กามา]]พร้อมเรือสี่ลำออกสำรวจเส้นทางทะเลสู่[[อินเดีย]] การเดินทางบรรลุเป้าหมายเมื่อดา กามาไปถึงเมือง[[โคชิโคด]]ในวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1498 ในช่วงปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1499 เรือของดา กามาสองลำเดินทางกลับมาถึงโปรตุเกส
 
ในวันที่ 9 มีนาคม ค.ศ. 1500 [[เปดรู อัลวารึช กาบรัล]] ผู้นำในการสำรวจครั้งใหม่ได้นำเรือสิบสามลำเดินทางออกจากกรุงลิสบอนไปสร้างสายสัมพันธ์ทางการค้ากับเจ้าชายอินเดีย กาบรัลล่องเรือใน[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]ตะวันตกและในวันที่ 22 เมษายนคณะสำรวจได้สังเกตเห็นเทือกเขามองชือปาสกูอาลซึ่งอยู่ใน[[บราซิล]] ในวันที่ 2 พฤษภาคมกาบรัลเดินทางไปอินเดียต่อผ่านทาง[[แหลมกู๊ดโฮป]] แต่ได้ส่งเรือเสบียงกลับมาโปรตุเกสเพื่อแจ้งข่าวการค้นพบบราซิล กาบรัลเดินทางไปถึงอินเดียและได้ตั้งสถานีการค้าขึ้นในเมืองโคชิโคด เมือง[[โกชิ]] และเมือง[[กันนูร์]] ซึ่งตั้งอยู่ตามแนว[[ชายฝั่งมะละบาร์]]ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย แม้จะเสียเรือไปหลายลำ แต่การลงทุนครั้งนี้สร้างผลกำไรให้แก่โปรตุเกส
 
ในปี ค.ศ. 1501 พระเจ้ามานูแวลได้ส่งเรือสามลำภายใต้การบัญชาการของกองซาโล กูเอลโญไปสำรวจชายฝั่งตะวันออกของบราซิล กูเอลโญเดินทางกลับมาในอีกหนึ่งปีต่อมา พระเจ้ามานูแวลได้ปล่อยเช่าบราซิลให้แก่ห้างหุ้นส่วนภายใต้การนำของเฟนูเอา ดิ โลโรนญาเป็นระยะเวลา 3 ปี ทว่าพระองค์สนพระทัยแอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันออก และเอเชียมากกว่าอเมริกา โดยในปี ค.ศ. 1502 ดา กามาได้นำเรือ 20 ลำไปขนทองคำมาจากลุ่มชนเผ่าในแอฟริกาตะวันออก สร้างความร่ำรวยให้แก่พระเจ้ามานูเอล ทั้งนี้กษัตริยแห่งโปรตุเกสได้อ้างสิทธิ์ในดินแดนที่เพิ่งค้นพบ โดยมีสมเด็จพระสันตะปาปาให้การรับรองและได้รับการยอมรับจากสเปนซึ่งมีสายสัมพันธ์ใกล้ชิดในทางฝั่งพระมเหสี
 
อิทธิพลในโลกซีกตะวันออกของโปรตุเกสมั่นคงขึ้นหลังการสร้างป้อมปราการที่เมืองโกชิในปี ค.ศ. 1503 และความสำเร็จในการป้องกันเมืองในปี ค.ศ. 1504 ของดูวาร์ตือ ปาเชโก เปเรรา ในปี ค.ศ. 1505 เฟิงซิกู ดิ อัลเมดาคว้าชัยชนะครั้งแรกให้แก่โปรตุกีสอินเดีย [[อาฟงซู ดึ อัลบูแกร์กึ]]สืบทอดตำแหน่งเป็นข้าหลวงต่อจากอัลเมดาและพิชิต[[รัฐกัว]]ได้ในปี ค.ศ. 1510 ต่อด้วยการพิชิต[[รัฐมะละกา]]ซึ่งตั้งอยู่ใน[[คาบสมุทรมลายู]]ในปี ค.ศ. 1511 ทำให้การจัดจำหน่ายเครื่องเทศของฝั่งตะวันออกอยู่ในมือของโปรตุเกส ในปี ค.ศ. 1513 ชาวโปรตุเกสได้เดินทางไปถึงจีน
ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1497 พระองค์มีคำสั่งให้เอาตัวเด็กอายุต่ำกว่า 14 ปีที่เกิดจากชาวยิวที่ไม่ยอมเปลี่ยนศาสนามาจากพ่อแม่และส่งไปให้ชาวคริสต์เลี้ยงดูเพื่อศึกษาคำสอนของศาสนาคริสต์ ต่อมาทรงขยายอายุเพิ่มเป็น 20 ปี กระบวนการบังคับให้เปลี่ยนศาสนาเสร็จสิ้นในช่วงปลายปี ค.ศ. 1497 และก่อให้กิดโศกนาฏกรรมเมื่อพ่อแม่หลายคนยินดีที่จะสังหารบุตรชายของตนดีกว่าให้ถูกส่งไปศึกษาคำสอนของศาสนาคริสต์
 
แนวความคิดเรื่องสงครามครูเสดเพิ่มสูงขึ้นเมื่ออัลบูแกร์กึวางแผนที่จะปิด[[ทะเลแดง]]และเข้ายึดกรุง[[เมกกะ]] ดูวาร์ตือ กัลเวาพยายามชักจูงราชสำนักอื่นๆ ในยุโรปให้เข้าร่วมการทำสงครามครูเสดแต่ไม่ค่อยได้รับการตอบรับ ในปี ค.ศ. 1514 ทูตของ[[จักรวรรดิเอธิโอเปีย]]ได้เดินทางมาที่ราชสำนักของพระเจ้ามานูแวลเพื่อสานสัมพันธไมตรีกับกษัตริย์ชาวคริสต์ของโปรตุเกส พระเจ้ามานูแวลได้แต่งตั้งกัลเวาเป็นราชทูตในจักรวรรดิเอธิโอเปีย แต่กัลเวาถึงแก่กรรมเสียก่อน แนวความคิดเรื่องสงครามครูเสดค่อยๆ หายไปหลังอัลบูแกร์กึถึงแก่กรรมในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1515 แม้ตัวพระเจ้ามานูแวลจะไม่ใช่นักรบ แต่ดยุคแห่งบรากังซาได้ช่วยพิชิตกรุงอัซเซมมอร์ของโมร็อกโกมาให้พระองค์ในปี ค.ศ. 1513
การบังคับเปลี่ยนศาสนาทำให้เกิดกลุ่ม "ชาวคริสต์ใหม่" ในโปรตุเกส ซึ่งคนกลุ่มนี้มีสถานะทางสังคมที่ไม่มั่นคงเนื่องจากถูกมองว่ามีสายเลือดยิว คนกลุ่มนี้ถูกกีดกันไม่ให้เข้ารับราชการและไม่ได้รับอนุญาตให้สมรสกับขุนนางหรือชาวคริสต์เดิม ทั้งยังถูกรังความลักขโมยทรัพย์สิน ในปี ค.ศ. 1506 ชาวคริสต์ใหม่ถูกไล่ล่าอย่างหนัก เพราะประชาชนกล่าวหาว่าสาเหตุที่กาฬโรคระบาดในกรุงลิสบอนเนื่องจากมีคนกลุ่มนี้ซึ่งไม่ได้มีศรัทธาอย่างแท้จริงอยู่ในเมือง บ้านและวัดของชาวคริสต์ใหม่ถูกเผา ชาวคริสต์ใหม่ถูกสังหารกว่า 3,500 คน ผู้มีอำนาจสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ภายในสามวัน ผู้กระทำผิดฐานสังหารหมู่ถูกตัดสินประหารชีวิต
 
<br />
== การบริหารจัดการภายใน ==
การค้าขายสินค้าจากอินเดียทำให้ราชสำนักของพระเจ้ามานูแวลใหญ่โตและโอ่โถงขึ้น พระองค์เป็นคนขยัน ควบคุมอารมณ์ได้ดี หลงใหลในดนตรีและการแสดง และสุรุ่ยสุร่าย ทรงพำนักอยู่ที่กรุงลิสบอนเป็นหลัก โดยได้ทรงสร้างปราสาทริมน้ำขึ้นมาในกรุงลิสบอน (บริเวณใกล้กับ[[ปราซาดูกูแมร์ซียู|เตร์เฮรูดูปาซู]]ในปัจจุบัน) และในเมือง[[ซิงตรา]] พระเจ้ามานูแวลยังได้ก่อตั้งอารามปราสาทเชรูนิมูสในกรุง[[เบเลง]]และได้สร้างหอคอยเบเลง
พระเจ้ามานูแวลที่ 1 ขึ้นครองบัลลังก์ในช่วงที่ขุนนางกำลังเสื่อมอำนาจ กษัตริย์จึงสามารถบริหารบ้านเมืองด้วยการปกครองแบบรวมอำนาจ ในรัชสมัยของพระองค์ได้มีการปฏิรูปการคลัง, ปฏิรูปกฏหมาย และปฏิรูปการบริหารบ้านเมืองหลายครั้ง หนึ่งในนั้นคือการปรับประมวลกฎหมายโปรตุเกสให้ทันยุคทันสมัยยิ่งขึ้น ประมวลกฎหมายใหม่ถูกตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1512 และฉบับแก้ไขความถูกต้องถูกตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1521 ซึ่งเป็นปีที่พระองค์สวรรคต
 
พระเจ้ามานูแวลที่ 1 เนื่องจากทรงขึ้นครองบัลลังก์ในช่วงที่ขุนนางกำลังเสื่อมอำนาจ กษัตริย์จึงสามารถบริหารบ้านเมืองด้วยภายใต้การปกครองแบบของพระองค์การบริหารราชการแผ่นดินจึงมีการรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางมาขึ้น ในรัชสมัยของพระองค์ได้มีการปฏิรูปการคลัง, ปฏิรูปกฏหมาย และปฏิรูปการบริหารบ้านเมืองหลายครั้ง หนึ่งในนั้นคือการคณะกรรมาธิการของกษัตริย์ได้ปรับประมวลกฎหมายโปรตุเกสกฎบัตรในแต่ละเมืองให้ทันยุคทันสมัยยิ่งเป็นประโยชน์แก่คนในท้องถิ่นมากขึ้น รวมไปถึงการเรียกเก็บภาษีที่สมเหตุสมผลขึ้น ประมวลกฎหมายฉบับปรับปรุงใหม่ถูกตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1512 และฉบับแก้ไขความถูกต้องถูกตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1521 ซึ่งเป็นปีที่พระองค์สวรรคต
== การสำรวจทางทะเล ==
รัชสมัยของพระองค์โด่งดังที่สุดในด้านการสำรวจทางทะเลครั้งสำคัญที่พระองค์เป็นนายทุน ในวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1497 พระองค์ได้ส่งวัชกู ดา กามาพร้อมเรือสี่ลำไปสำรวจเส้นทางทะเลสู่อินเดีย การเดินทางบรรลุเป้าหมายเมื่อดา กามาไปถึงเมืองโคชิโคดในวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1498 ในช่วงปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1499 เรือของดา กามาสองลำเดินทางกลับมาถึงโปรตุเกส ในวันที่ 9 มีนาคม ค.ศ. 1500 เปดรู อัลวารึช กาบรัล ผู้นำการสำรวจครั้งต่อมาได้นำเรือสิบสามลำเดินทางออกจากเมืองลิสบอน ในวันที่ 22 เมษายนคณะเดินทางมองเห็นเทือกเขามองชือปาสกูอาลในบราซิล ในวันที่ 2 พฤษภาคมกาบรัลเดินทางต่อไปอินเดีย แต่ได้ส่งเรือเสบียงกลับไปโปรตุเกสเพื่อแจ้งข่าวการค้นพบก่อนหน้านั้นแล้ว ในปี ค.ศ. 1501 พระเจ้ามานูแวลส่งเรือสามลำภายใต้การบัญชาการของกองซาโล กูเอลโญไปสำรวจชายฝั่งตะวันออกของบราซิล เมื่อกูเอลโญกลับมาในปีต่อมาพระเจ้ามานูแวลเปิดให้ห้างหุ้นส่วนภายใต้การนำของเฟนูเอา ดิ โลโรนญาเช่าบราซิลเป็นเวลา 3 ปี ทว่าพระเจ้ามานูแวลสนพระทัยแอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันออก และเอเชียมากกว่าอเมริกา
 
== อ้างอิง ==
เส้น 72 ⟶ 86:
* [https://www.encyclopedia.com/people/history/spanish-and-portuguese-history-biographies/manuel-i-portugal Encyclopedia.com, Manuel I (Portugal)]
* [https://thebiography.us/en/manuel-rey-de-portugal TheBiography, Biography of King of Portugal Manuel I <small>(1469-1521)</small>]
*[https://www.britannica.com/biography/Manuel-I Encyclopædia Britannica, Manuel I - KING OF PORTUGAL]