ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้ามย็องจงแห่งโชซ็อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 11:
| mrborn = I Hwan
}}
'''พระเจ้ามยองจง''' {{เกาหลี|명종|ฮันจา=明宗|MC2000=Myeongjong|MR=Myŏngchong|พ.ศ. 2077 - พ.ศ. 2110}} เป็นประมุข[[ราชวงศ์โชซ็อน]]องค์ที่ 13 (พ.ศ. 2088 - พ.ศ. 2110) หรือเจ้าชายเคียงวอน เป็นโอรสของ[[พระเจ้าจุงจงชุงจง]]กับ[[พระนางมุนจ็อง]] ขึ้นครองราชย์เมื่อพระชนมายุ 11 พรรษา ต่อจากพระเชษฐาต่างมารดาคือ[[พระเจ้าอินจงแห่งโชซ็อน|พระเจ้าอินจง]] ที่สวรรคตไปด้วยพระสุขภาพพลานามัยที่ไม่สู้จะดีใน พ.ศ. 2088 มีพระมารดาสำเร็จราชการแทน
 
พระเจ้ามยองจงพระราชสมภพเมื่อ ค.ศ. 1534 เป็นเจ้าชายคย็องว็อน (경원대군, 慶原大君) เป็นพระโอรสของพระเจ้าจุงจงชุงจง กับพระนางมุนจ็อง มเหสีองค์ที่สามของพระเจ้าจุงจง เจ้าชายคย็องว็อนมีพระเชษฐาต่างพระราชมารดาเป็นรัชทายาทอยู่แล้ว ซึ่งเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าจุงจงกับ[[พระนางชังกย็อง]] มเหสีองค์ที่สองของพระเจ้าจุงชุงจงที่สิ้นพระชนม์ไปแล้ว ปลายรัชกาลของพระเจ้าจุงชุงจงเกิดการแก่งแย่งอำนาจระหว่างขุนนางตระกูลยุน คือ [[ฝ่ายยุนใหญ่]] (대윤, 大尹) คือฝ่ายของ [[ยุนอิม]] ซึ่งเป็นพระเชษฐาของพระมเหสีชังกยอง สนับสนุนรัชทายาทให้ขึ้นครองราชย์ และ [[ฝ่ายยุนเล็ก]] (소윤, 小尹) นำโดย [[ยุนวอนฮย็องน ว็อน-ฮย็อง]] (윤원형, 尹元衡) ที่เป็นพระเชษฐาอนุชาของพระมเหสีมุนจองนจ็อง
 
เมื่อค.ศ. 1544 พระเจ้าจุงจงสวรรคตชุงจงสวรรคต รัชทายาทลีโฮขึ้นครองราชย์เป็น[[พระเจ้าอินจงแห่งโชซอนโชซ็อน|พระเจ้าอินจง]] ขุนนางฝ่ายยุนใหญ่ขึ้นมามีอำนาจภายใต้การนำของยุนอิม แต่พระเจ้าอินจงทรงอยู่ในราชสมบัติได้เพียงแปดเดือนก็สวรรคตอย่างเป็นปริศนาใน ค.ศ. 1545 เจ้าชายคย็องว็อนก็ได้ขึ้นครองราชสมบัติด้วยพระชนมายุเพียง 1211 พรรษา จึงมีพระราขมารดาราชมารดาเป็นผู้สำเร็จราชการแทน ทำให้ฝ่ายยุนเล็กที่เป็นฝ่ายของพระนางซองย็อลและยุนวอนฮย็องย็อล (พระพันปีมุนจ็อง) และยุน ว็อน-ฮย็องที่เป็นพระมาตุลา (น้า) ขึ้นมามีอำนาจแทนฝ่ายยุนใหญ่ และทำการกวาดล้างขุนนางฝ่ายยุนใหญ่เสียสิ้น โดยยุนวอนฮย็องกล่าวหายุนอิมว่าคิดก่อการกบฏยกราชสมบัติให้องค์ชายพงซอง (봉성군, 奉城君 พระโอรสของพระเจ้าจุงชุงจงกับพระสนมฮงฮีบิน) เรียกว่า '''การสังหารหมู่ปราชญ์ปีอึลซา''' (을사사화, 乙巳士禍) ขุนนางจำนวนมากรวมทั้งยุนอิมถูกเนรเทศ
 
ในรัชสมัยของพระเจ้ามยองมย็องจงเป็นสมัยที่ขุนนางฝ่ายยุนเล็กมีอำนาจมาก ไม่ว่าใครก็ไม่สามารถดำรงตำแหน่งขุนนางได้หากไม่ได้รับการสนับสนุนจากฝ่ายยุนเล็ก พระพันปีซองยอลทรงมีศรัทธาในพระพุทธศาสนาและโปรดพระภิกษุรูปหนึ่งชื่อ โพอู (보우, 普雨) ทำให้ทรงมีนโยบายฟื้นฟูพระพุทธศาสนาขึ้นในโจซอนโชซ็อน พระเจ้ามยองมย็องจงมีพระโอรส ประสูติเมื่อค.ศ. 1551 แต่งตั้งให้เป็นองค์ชายรัชทายาทเมื่อค.ศ. 1557 ครั้นถึงค.ศ. 1553 พระเจ้ามยองจงมีพระชนมายุครบ 20 ชันษาสามารถออกว่าราชการเองได้ แต่พระพันปีมุนจองและยุนวอนฮย็องนจ็องและยุน ว็อน-ฮย็องก็ยังไม่ทำการคืนอำนาจให้แก่พระเจ้ามยองจง จึงเป็นที่โจมตีของนักปราชญ์ฝ่ายซานิมริม นำโดย [[ชิมอีกยอม]] (심의겸, 沈義謙) ซึ่งเป็นพระอนุชาของพระมเหสีอินซุน จนถูกขุนนางฝ่ายยุนเล็กทำการกวาดล้างขนาดย่อมใน ค.ศ. 1563
 
รัชทายาทสวรรคตเมื่อ ค.ศ. 1563 ด้วยพระชนมายุเพียงสิบสองชันษา ได้รับพระนามว่าเจ้าชายรัชทายาทซุนฮวี (순회세자, 順懷世子) หลังจากที่ทรงสำเร็จราชการแทนมายี่สิบปีพระพันปีซองยอลก็สวรรคตเมื่อค.ศ. 1565 เป็นโอกาสให้พระเจ้ามยองมย็องจงทรงทวงพระราชอำนาจคืน โดยการประหารชีวิตยุนวอนฮย็องน ว็อน-ฮย็อง และกำจัดอำนาจของขุนนางฝ่ายยุนเล็กออกไปจากราชสำนัก และเมื่อไม่มีพระราชโอรส ในค.ศ. 1567 ก็ทรงประกาศว่าจะมอบราชสมบัติให้กับ [[องค์ชายฮาซอง]] (하성군, 河城君) ซึ่งเป็นโอรสของ [[เจ้าชายทอคึงท็อกฮึง]] พระอนุชาต่างพระมารดา (덕흥군, 德興君 พระโอรสของพระเจ้าจุงจงชุงจง กับพระสนมอันชังบิน) พระเจ้ามยองมย็องจงทรงว่าราชการเองเพียงสองปี ก็สวรรคตในค.ศ. 1567 สุสานหลวงมีชื่อว่า คังนึง (강릉, 康陵) องค์ชายฮาซองขึ้นครองราชสมบัติต่อไป เป็น[[พระเจ้าซอนโจซ็อนโจ]]
 
== พระนามเต็ม ==