ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความคลั่งทิวลิป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Venomous Sniper (คุย | ส่วนร่วม)
fix lint error
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 14:
[[ทิวลิป]]ได้รับการนำเข้ามาใน[[ทวีปยุโรป]]จาก[[จักรวรรดิออตโตมัน]]ราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 และกลายมาเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายใน[[สาธารณรัฐดัตช์]] (ปัจจุบัน คือ [[เนเธอร์แลนด์]]) <ref>{{Harvnb|Garber|1989|p=537}}</ref> การปลูกทิวลิปในสาธารณรัฐดัตช์เชื่อกันว่าเริ่มกันขึ้นอย่างจริงจังราว ค.ศ. 1593 หลังจากที่นักพฤกษศาสตร์เฟล็มมิช[[ชาร์ลส์ เดอ เลอคลูส์]]ได้รับตำแหน่งที่[[มหาวิทยาลัยไลเดน]]และก่อตั้ง “สถาบันพฤกษศาสตร์แห่งไลเดน” (Hortus Botanicus Leiden) ขึ้น<ref>{{Harvnb|Dash|1999|pp=59–60}}</ref> เลอคลูส์ปลูกทิวลิปที่สถาบันจากหัวทิวลิปที่ส่งมาจาก[[ตุรกี]]โดยราชทูต[[โอชีร์ เดอ บูสเบคก์]]ใน[[สมเด็จพระจักรพรรดิเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ในราชสำนักของสุลต่าน[[สุลัยมานมหาราช]] ทิวลิปที่ปลูกเป็นสายพันธุ์ที่สามารถทนทานกับภาวะอากาศในบริเวณ[[กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ]]ได้<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|p=32}}</ref> ไม่นานหลังจากนั้นการปลูกทิวลิปก็เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายโดยทั่วไปในเนเธอร์แลนด์<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|p=33}}</ref>
 
ทิวลิปกลายมาเป็นสิ่งฟุ่มเฟือยอย่างรวดเร็วและเป็นสิ่งที่เป็นแสดง[[สัญลักษณ์แสดงฐานะ]]ของผู้เป็นเจ้า ซึ่งทำให้เกิดความนิยมในการแสวงหาหัวทิวลิปมาเป็นเจ้าของกันยิ่งเพิ่มมากขึ้น ทิวลิปสายพันธุ์ใหม่ๆใหม่ ๆ ถูกพัฒนาขึ้นและจัดเป็นกลุ่ม เช่นทิวลิปสีเดียวที่รวมทั้งสีแดง เหลือง และ ขาวอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า “Couleren” แต่ทิวลิปที่เป็นที่คลั่งไคล้กันมากที่สุดคือทิวลิปสีผสม หรือ “ทิวลิปแตกสี” (broken tulip) ที่มีลวดลายหลายสีในดอกเดียวกันที่มีชื่อเรียกกันไปต่างๆต่าง ๆ แล้วแต่สายพันธุ์เช่น “Rosen” (แดงหรือชมพูบนพื้นสีขาว) “Violetten” (ม่วงหรือม่วงอ่อนบนพื้นสีขาว) หรือ “Bizarden” (แดง น้ำตาลหรือม่วง บนพื้นสีเหลือง) <ref>{{Harvnb|Dash|1999|p=66}}</ref> ทิวลิปสีผสมที่นิยมกันนี้จะออกดอกที่มีสีเด่นสะดุดตาและมีลวดลายเป็นเส้นหรือเป็นเปลวบนกลีบ ลักษณะที่เป็นลวดลายนี้เกิดจากการติดเชื้อไวรัสตามที่ทราบกันในปัจจุบันที่เรียกว่า “[[ไวรัสทิวลิปแตกสี]]” ซึ่งเป็นไวรัสพืชในกลุ่มไวรัสโมเสก (mosaic virus) <ref>Phillips, S. "[http://image.fs.uidaho.edu/vide/descr849.htm Tulip breaking potyvirus]", in Brunt, A.A., Crabtree, K., Dallwitz, M.J., Gibbs, A.J., Watson, L. and Zurcher, E.J. (eds.) (1996 onwards). ''Plant Viruses Online: Descriptions and Lists from the VIDE Database.'' Version: August 20, 1996. Retrieved on August 15, 2008.</ref><ref>{{Harvnb|Garber|1989|p=542}}</ref>
 
[[ไฟล์:Ambrosius Bosschaert, the Elder 01.jpg|left|thumb|220px|“ภาพนิ่งของดอกไม้” โดย[[อัมโบรเชียส บอสเชิร์ต]] (Ambrosius Bosschaert) (ค.ศ. 1573-ค.ศ. 1621) จิตรกร[[ยุคทองของเนเธอร์แลนด์]]]]
[[ไฟล์:Tulipa fringed - burgundy lace - bulbs.jpg|thumb|left|220px|หัวทิวลิป]]
 
ผู้ปลูกทิวลิปต่างก็พยายามตั้งชื่อสายพันธุ์ใหม่ๆใหม่ ๆ ให้เป็นที่ต้องหูด้วยชื่อที่หรูหราต่างๆต่าง ๆ ที่เริ่มด้วยการตั้งชื่อที่มีคำว่า “แอดมิราล” (Admirael) นำหน้าตามด้วยชื่อผู้ปลูกเช่น “Admirael van der Eijck” ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่แสวงหากันมากในบรรดาห้าสิบสายพันธุ์ที่ใช้ชื่อแอดมิราล ชื่อนำหน้าอีกชื่อหนึ่งที่นิยมกันคือ “เจ็นเนอราล” (Generael) ซึ่งมีด้วยกันอีกสามสิบสายพันธุ์ หลังจากนั้นชื่อที่ตั้งก็ยิ่งหรูขึ้นไปอีกเช่นชื่อที่มาจาก[[อเล็กซานเดอร์มหาราช]] หรือ[[สคิพิโอ อาฟริกานัส|สคิพิโอ]] หรือแม้แต่ “แอดมิราลแห่งแอดมิราล” หรือ “เจ็นเนอราลแห่งเจ็นเนอราล” แต่การตั้งชื่อก็มิได้เป็นไปอย่างมีระบบหรือระเบียบแบบแผนเท่าใดนัก และคุณภาพของสายพันธุ์ใหม่ก็มีระดับที่แตกต่างกันมาก<ref>{{Harvnb|Dash|1999|pp=106–07}}</ref> แต่สายพันธุ์เหล่านี้ส่วนใหญ่สูญหายไปหมดแล้ว<ref>{{Harvnb|Garber|2000|p=41}}</ref> แต่ "ทิวลิปแตกสี" ก็ยังเป็นที่นิยมกันอยู่
 
ทิวลิปเป็นดอกไม้ที่ปลูกจากหัวที่เมื่อมองจากภายนอกจะดูคล้ายหัวหอมสีขาวนมที่ดูเหมือนไม่มีกลีบเหมือนหัวหอมธรรมดา การปลูกสามารถทำได้จากการเพาะเมล็ดหรือการปลูกจากหน่อที่แตกออกจากหัวแม่ แต่ถ้าปลูกจากเมล็ดก็จะใช้เวลาประมาณระหว่าง 7 ถึง 12 ปีจึงจะได้ดอก เมื่อหัวเจริญเติบโตขึ้นเป็นดอก หัวเดิมก็จะตายไปและจะมีหัวใหม่โตขึ้นมาแทนที่และหน่อเล็กๆเล็ก ๆ ถ้าปลูกอย่างกันถูกต้องแล้วหน่อเล็กนี้ก็จะโตขึ้นมาเป็นหัวใหม่ต่างหาก แต่ไวรัสที่ทำให้ดอกแตกสีแพร่ขยายได้ด้วยการปลูกจากหน่อเท่านั้นไม่ใช่ด้วยเมล็ด ฉะนั้นการที่จะเพาะสายพันธุ์ใหม่ได้จึงใช้เวลาหลายปี และยิ่งช้าลงถ้ามีไวรัส ดอกทิวลิปแต่ละชนิดก็จะบานอยู่เพียงอาทิตย์เดียวราวระหว่างเดือนเมษายนถึงพฤษภาคมก่อนที่จะโรย หลังจากนั้นก็จะมีหน่อเล็กๆเล็ก ๆ แตกขึ้นมา สามารถขุดและย้ายหัวได้ตั้งแต่ราวเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน ฉะนั้นการซื้อขายหัวทิวลิปกันจริงๆจริง ๆ ก็จะเกิดขึ้นในช่วงนี้ของปี<ref>{{Harvnb|Garber|1989|pp=541–42}}</ref>
 
ในช่วงเวลาอื่น ผู้ค้าขายก็จะลงนามในสัญญาซื้อขายล่วงหน้าต่อหน้าทนายความรับรองเอกสารเพื่อซื้อหัวทิวลิปกันเมื่อถึงปลายฤดู<ref>{{Harvnb|Garber|1989|pp=541–42}}</ref> ฉะนั้นเนเธอร์แลนด์จึงกลายมาเป็นผู้วิวัฒนาการเทคนิคของระบบการซื้อขายแบบใหม่เพื่อใช้ในการซื้อขายสินค้าเช่นหัวทิวลิป<ref>{{Harvnb|Garber|1989|p=537}}</ref> ในปี ค.ศ. 1610 รัฐบาลก็ได้สั่งห้าม[[การขายชอร์ต]] ประกาศนี้มาย้ำและเพิ่มความเด็ดขาดขึ้นอีกครั้งระหว่างปี ค.ศ. 1621 จนถึง ปี ค.ศ. 1630 และต่อมาในปี ค.ศ. 1636 ตามประกาศนี้ ผู้ที่ขายชอร์ตไม่ได้รับการลงโทษ แต่สัญญาที่ลงนามไปก็ถือว่าเป็นโมฆะ<ref>{{Harvnb|Garber|2000|pp=33–36}}</ref>
บรรทัด 29:
เมื่อการปลูกทิวลิปกลายมาเป็นที่นิยมกันมากขึ้น ผู้ปลูกอาชีพก็ซื้อขายหัวทิวลิปที่เชื่อกันว่าจะแตกสี (โดยที่ขณะนั้นไม่เป็นที่ทราบว่าเกิดจากไวรัส) กันด้วยราคาที่สูงขึ้นเป็นลำดับ เมื่อมาถึง ค.ศ. 1634 แรงผลักดันราคาทิวลิปที่ส่วนหนึ่งมาจากความต้องการของทิวลิปในฝรั่งเศส ก็เริ่มทำให้มีผู้เก็งกำไรเข้ามามีบทบาทในตลาด<ref>{{Harvnb|Garber|1989|p=543}}</ref> ในปี ค.ศ. 1636 ดัตช์ก็เริ่มก่อตั้ง[[ระบบการซื้อขายล่วงหน้า|ตลาดการซื้อขายล่วงหน้า]]ที่สัญญาการซื้อหัวทิวลิปเมื่อสิ้นฤดูสามารถนำมาซื้อขายกันในตลาดได้ ผู้ค้าขายจะพบกันใน “colleges” ในโรงเหล้า โดยผู้ซื้อต้องจ่าย "ค่าธรรมเนียมไวน์" 2.5% ซึ่งอาจสูงถึง 3 โฟลรินต่อหนึ่งสัญญา แต่ไม่มีฝ่ายใดที่ต้องจ่ายหลักประกันขั้นต้น (initial margin) หรือ ปรับมูลค่าตามราคาตลาด (mark to market) และสัญญาทั้งหมดเป็นสัญญาระหว่างบุคคล มิใช่สัญญาที่ทำกับตลาดหลักทรัพย์ แต่ไม่มีการส่งมอบสินค้าจริงตามสัญญาเพราะตลาดทิวลิปล่มสลายลงในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1637 การค้าขายนี้มีศูนย์กลางที่ฮาร์เล็มในช่วงที่เป็นจุดสูงสุดของ[[การระบาดของกาฬโรคในยุโรป]] ซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุหนึ่งที่กระตุ้นให้มีการเสี่ยงกันเกินกว่าเหตุก็เป็นได้<ref>{{Harvnb|Garber|2000|pp=37–38, 44–47}}</ref>
 
ตลอดปี ค.ศ. 1636 ราคาสัญญาของหัวทิวลิปที่หายากก็ยังคงถีบตัวสูงขึ้นเรื่อยๆเรื่อย ๆ ในเดือนพฤศจิกายน ราคาสัญญาทิวลิปธรรมดาที่ไม่แตกสีก็เริ่มสูงตามขึ้นไปด้วย ดัตช์เรียกสัญญาการซื้อขายทิวลิปว่า "windhandel" ซึ่งหมายถึง "การซื้อขายลม" เพราะตัวหัวทิวลิปมิได้มีการแลกเปลี่ยนมือกันจริง ๆ ตามสัญญาซื้อขายกันล่วงหน้า<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|p=322}}</ref> แต่เมื่อมาถึงเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1637 สัญญาการซื้อขายหัวทิวลิปก็ล่มในทันทีและการค้าขายหัวทิวลิปก็ยุติลงตามไปด้วยหลังจากนั้น<ref>{{Harvnb|Garber|1989|pp=543–44}}</ref>
 
=== ข้อมูลที่มี ===
บรรทัด 87:
ตามความเห็นของแม็คเคย์การตื่นตัวของความแพร่หลายของทิวลิปเมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 1600 ทำให้ชนทั้งชาติต่างก็หันมาให้ความสนใจกับการซื้อขายทิวลิป -- “ประชาชนแม้กระทั่งชนชั้นล่างสุดต่างก็หันมามีส่วนร่วมในการค้าขาย”<ref name=Chap3/> เมื่อถึง ค.ศ. 1635 ก็มีการบันทึกถึงการขายหัวทิวลิป 40 หัวเป็นจำนวนเงิน 100,000 [[กิลเดอร์ดัตช์|โฟลริน]] (หรือที่เรียกว่า[[ดัตช์กิลเดอร์]]) เมื่อเปรียบเทียบกับราคาเนยในขณะนั้นที่ค้าขายกันในราคา 100 [[กิลเดอร์ดัตช์|โฟลริน]]ต่อหนึ่งตัน หรือช่างฝีมือที่มีรายได้ราว 150 [[กิลเดอร์ดัตช์|โฟลริน]]ต่อปี หรือ “หมูอ้วนแปดตัว” มีราคา 240 [[กิลเดอร์ดัตช์|โฟลริน]]<ref name=Chap3/> (จากการตั้งค่าของสถาบันประวัติศาสตร์สังคมศาสตร์นานาชาติ หนึ่ง[[กิลเดอร์ดัตช์|โฟลริน]]สามารถมีค่าเท่ากับ [[ยูโร|€]]10.28 ตามค่าเงินในปี ค.ศ. 2002<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|p=323}}</ref>)
 
เมื่อมาถึงปี ค.ศ. 1636 ทิวลิปก็ค้าขายกันใน[[ตลาดหลักทรัพย์]]ตามเมืองต่างๆต่าง ๆ ในเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นการทำให้การค้าขายเป็นที่แพร่หลายไปยังผู้คนระดับต่างๆต่าง ๆ ของสังคม แม็คเคย์กล่าวว่าประชาชนบางคนถึงกับนำทรัพย์สมบัติส่วนตัวมาใช้ในการเก็งกำไร เช่นการเสนอราคาแลกเปลี่ยนที่ดิน 12 เอเคอร์ (49,000 ตารางเมตร) กับหัว “Semper Augustus” หัวเดียวหรือสองหัว หรือการแลกหัว “ไวซรอย” กับสินค้าต่างๆต่าง ๆ ตามรายการบนตารางทางขวาเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 2,500 โฟลรินเป็นต้น<ref name=Mac3>This basket of goods was actually exchanged for a bulb according to Chapter 3 of {{Harvnb|Mackay|1841}} and also {{Harvnb|Schama|1987}}, but Krelage (1942) and {{Harvnb|Garber|2000 |pp=81–83}} dispute this interpretation of the original source, an anonymous pamphlet, saying that the commodity bundle was clearly given only to demonstrate the value of the Dutch guilder at the time.</ref>
 
{{quote|
มีผู้คนหลายคนที่ร่ำรวยขึ้นมาอย่างกะทันหัน เมื่อมีเหยื่อทองห้อยล่อใจอยู่ตรงหน้า ก็ทำให้คนแล้วคนเล่าก้าวเข้าไปร่วมในการค้าขายในตลาดทิวลิปเหมือนกับแมลงวันที่บินรอบน้ำผึ้ง ต่างคนต่างก็คิดว่าความคลั่งทิวลิปจะไม่มีวันจบสิ้น ต่างคนต่างก็พยายามซื้อทิวลิปไม่ว่าจะด้วยราคาใดที่เรียกร้อง และต่างก็เชื่อกันว่าความนิยมนี้จะทำให้ความมั่งคั่งจากส่วนต่างๆต่าง ๆ ของโลกหลั่งไหลเข้ามายังเนเธอร์แลนด์ ผู้คนที่มั่งคั่งในยุโรปต่างก็พากันมายังซุยเดอร์เซ (Zuyder Zee) ความยากจนก็จะอันตรธานไปจากความรุ่งเรืองของเนเธอร์แลนด์ ขุนนาง พ่อค้า เกษตรกร ช่างเครื่องยนต์ กะลาสี คนรับใช้ของขุนนาง หญิงรับใช้ และแม้แต่คนกวาดปล่องไฟหรือหญิงแก่ช่างตัดเสื้อจึงต่างก็เข้ามาร่วมค้าขายหัวทิวลิปด้วยกันทั้งสิ้น<ref name=Chap3/>}}
 
[[ไฟล์:Pamphlet dutch tulipomania 1637.jpg|thumb|240px|จุลสารเกี่ยวกับความคลั่งทิวลิปของเนเธอร์แลนด์ที่พิมพ์ขึ้นในปี ค.ศ. 1637]]
บรรทัด 96:
ความคลั่งทิวลิปที่เพิ่มมากขึ้นทำให้เกิดเรื่องชวนขันหลายเรื่องที่แม็คเคย์บันทึกไว้ เช่น กะลาสีที่เห็นหัวทิวลิปที่มีค่าตั้งอยู่ก็นึกว่าเป็นหัวหอมจึงหยิบไปเพื่อจะไปทำอาหาร พ่อค้าและครอบครัววิ่งไล่ตามแต่ไปพบว่ากะลาสีกำลังนั่ง “กินอาหารเช้าที่มีราคาพอกับค่าแรงงานของกะลาสีของเรือทั้งลำเป็นเวลาหนึ่งปี” กะลาสีคนนั้นถูกจำคุกเพราะกินหัวทิวลิป ซึ่งคิดว่าเป็นหัวหอม<ref name=Chap3/>
 
ผู้คนซื้อหัวทิวลิปที่ราคาสูงขึ้นตามลำดับโดยตั้งใจที่จะหันมาขายเอากำไร แต่แผนการเช่นนั้นไม่สามารถจะดำเนินไปได้โดยไม่มีที่สิ้นสุด นอกจากว่าจะมีคนเต็มใจที่จะซื้อสินค้าในราคาอันสูงเกินประมาณต่อไปเรื่อยๆเรื่อย ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ เมื่อมาถึงเดือนกุมภาพันธ์ปี ค.ศ. 1637 ผู้มีสัญญาขายหัวทิวลิปก็ไม่สามารถหาผู้ซื้อใหม่ผู้เต็มใจที่จะให้ราคาที่เกินเลยความเป็นจริงไปมากได้ เมื่อเกิดความเข้าใจในสภาวะตลาดเช่นนั้นแล้วความต้องการในซื้อหัวทิวลิปก็สิ้นสุดลงที่เป็นผลให้ราคาก็ตกฮวบ—ตลาดขายสัญญาทิวลิปก็ตกอยู่ใน “[[ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่|สภาวะลูกโป่งระเบิด]]” ผู้ขายบางคนก็เหลือแต่สัญญาในมือที่มีค่าเพียงหนึ่งในสิบของราคาที่ซื้อมา หรือผู้ขายบางคนก็มีหัวทิวลิปที่มีค่าเพียงเสี้ยวเดียวของราคาที่ซื้อมา แม็คเคย์อ้างว่าหลังจากนั้นชาวดัตช์ก็อยู่ในสภาวะที่พยายามเที่ยวไล่หาตัวการที่ทำให้เกิดความปั่นป่วนของตลาดหรือไม่ก็หาแพะรับบาป<ref name=Chap3/>
 
นักเก็งกำไรที่ตกตะลึงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก็พยายามร้องขอให้รัฐบาลเนเธอร์แลนด์เข้ามาช่วยเหลือ รัฐบาลตอบสนองด้วยการประกาศให้นักเก็งกำไรที่ซื้อสัญญาหัวทิวลิปไว้จ่ายค่าธรรมเนียมสิบเปอร์เซ็นต์ มาตรการอื่นๆอื่น ๆ ก็มีการนำมาใช้เพื่อช่วยบรรเทาสถานการณ์ให้เป็นที่พอใจแก่ทุกฝ่าย แต่ก็ไม่ประสบผล ความคลั่งทิวลิปในที่สุดก็ยุติลงโดยทิ้งผู้เป็นเจ้าของไว้กับสัญญาหัวทิวลิปที่ไม่ใครยอมจ่ายราคาตามราคาที่เรียกร้อง ศาลก็ไม่ยอมเข้ายุ่งเกี่ยวด้วยเพราะถือว่าเป็นหนี้สินที่เกิดจากสัญญาการพนันซึ่งไม่สามารถใช้กฎหมายบังคับได้<ref name=Chap3/>
 
ตามบันทึกของแม็คเคย์ ความคลั่งทิวลิปเกิดขึ้นในส่วนอื่นของยุโรปแต่ก็ไม่มีที่ใดที่คลั่งไคล้กันอย่างรุนแรงเท่ากับที่เกิดขึ้นในเนเธอร์แลนด์ และอ้างต่อไปว่าราคาทิวลิปที่ตกฮวบลงเป็นผลให้เศรษฐกิจเนเธอร์แลนด์หยุดนิ่งอยู่เป็นเวลาหลายปี<ref name=Chap3/>
บรรทัด 106:
[[ไฟล์:Semper Augustus Tulip 17th century.jpg|thumb|right|240px|ภาพเขียนสีน้ำของทิวลิป “''Semper Augustus''” โดยจิตรกรนิรนามของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่เป็นทิวลิปที่ได้ชื่อว่ามีราคาสูงที่สุดที่ขายระหว่างความคลั่งทิวลิป]]
 
คำอธิบายของแม็คเคย์ถึงพฤติกรรมอันไม่มีเหตุผลของมวลชนไม่มีผู้ใดค้านและตรวจสอบมาจนกระทั่งถึงคริสต์ทศวรรษ 1980<ref>{{Harvnb|Garber|1989|p=535}}</ref> แต่การค้นคว้าเรื่องความคลั่งทิวลิปตั้งแต่นั้นมาโดยเฉพาะจากผู้สนับสนุน[[สมมติฐานประสิทธิภาพของตลาด]]<ref>{{Harvnb|Kindleberger|2005|p=115}}</ref> ผู้ไม่มีความเชื่อมั่นในทฤษฎีฟองสบู่จากการเก็งกำไรโดยทั่วไปตั้งข้อเสนอว่า เรื่องราวของความคลั่งทิวลิปเป็นเรื่องที่ไม่สมบูรณ์และไม่ถูกต้อง ในการวิจัยทางวิชาการในบทวิจัย “ความคลั่งทิวลิป” โดยแอนน์ โกลด์การ์ ตั้งข้อเสนอว่าเหตุการณ์นี้จำกัดอยู่แต่เฉพาะกับ “กลุ่มคนที่เกี่ยวข้องจริงเพียงจำนวนน้อย” และเรื่องต่างๆต่าง ๆ ที่ได้รับบันทึกในช่วงนั้นก็เป็นเรื่องที่ “มีพื้นฐานมาจากงาน[[โฆษณาชวนเชื่อ]]ร่วมสมัยเพียงชิ้นสองชิ้น และจากเอกสารที่เป็นงาน[[โจรกรรมทางวรรณกรรม]]เสียเป็นส่วนใหญ่”<ref name=Kuper>Kuper, Simon "[http://www.ft.com/cms/s/50e2255e-0025-11dc-8c98-000b5df10621.html Petal Power]" (Review of {{Harvnb|Goldgar|2007}}), “Financial Times”, May 12, 2007. Retrieved on July 1, 2008.</ref> ปีเตอร์ การ์เบอร์ค้านว่าลูกโป่งระเบิดครั้งนี้ “ไม่มีความหมายมากไปกว่าเกมที่เล่นกันในวงเหล้าระหว่างฤดูหนาวโดยประชาชนที่ต้องประสบกับโรคระบาดที่ใช้ความตื่นตัวของตลาดทิวลิปเป็นเครื่องมือ”<ref>{{Harvnb|Garber|2000|p=81}}</ref>
 
ขณะที่แม็คเคย์อ้างว่าผู้เข้าร่วมในเหตุการณ์มาจากทุกระดับของสังคม แต่งานศึกษาของโกลด์การ์กล่าวว่าแม้กระทั่งในขณะที่ปริมาณการค้าขายทิวลิปถึงจุดสูงสุด ผู้เข้าร่วมในการซื้อขายก็จำกัดอยู่แต่เฉพาะกลุ่มพ่อค้า และช่างฝีมือที่มีฐานะดี โดยไม่มีผู้เข้าร่วมผู้ใดที่มาจากชนระดับขุนนาง<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|p=141}}</ref> เศรษฐกิจที่ล่มหลังจากตลาดทิวลิปหดตัวก็เป็นเพียงจำกัด โกลด์การ์ผู้พบชื่อผู้เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์กล่าวว่ามีก็เพียงบุคคลไม่กี่คนที่ได้รับผลกระทบกระเทือนทางการเงินจากช่วงเวลานี้ และในกรณีของบุคคลเหล่านี้ก็ไม่สามารถบอกได้อย่างแน่นอนว่าเป็นปัญหาทางการเงินที่มาจากการค้าขายทิวลิปหรือไม่<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|pp=247–48}}</ref> ข้อสรุปนี้ก็ไม่เป็นที่น่าประหลาดใจเท่าใดนัก เพราะแม้ว่าราคาทิวลิปจะสูงขึ้นแต่ก็มิได้มีการแลกเปลี่ยนตัวเงินระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายกันจริง ๆ ฉะนั้นกำไรของผู้ขายจึงเป็นกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง นอกจากว่าผู้ขายจะนำเครดิตไปทำการซื้อต่อเพื่อหวังผลกำไร ราคาที่ทรุดลงจึงมิได้มีผลให้ผู้ใดต้องเสียเงินจริงๆจริง ๆ<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|p=233}}</ref>
 
=== คำอธิบายด้วยเหตุผล ===
บรรทัด 121:
[[ไฟล์:Pink tulips closed.jpg|thumb|right|240px|ทิวลิปที่นิยมปลูกกันในปัจจุบันส่วนใหญ่แล้วจะเป็นทิวลิปสีเดียว จะมีทิวลิปหลายสีบ้างก็เป็นสีผสมที่จำกัด]]
 
การ์เบอร์เปรียบเทียบการขึ้นลงของราคาของหัวทิวลิปจากหลักฐานที่ยังมีอยู่กับแนวโน้มของการขึ้นลงของราคา[[ดอกไฮยาซินธ์]] เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19—เมื่อไฮยาซินธ์มาแทนที่ทิวลิปในการเป็นดอกไม้ยอดนิยม—ก็พบว่ามีแนวโน้มที่คล้ายคลึงกัน เมื่อไฮยาซินธ์เริ่มเข้ามาใหม่ๆใหม่ ๆ นักปลูกต่างก็พยายามแข่งกันหาสายพันธุ์ใหม่ตามความต้องการอันเพิ่มขึ้นของตลาด แต่เมื่อผู้คนเริ่มหายตื่นกับความแปลกใหม่ของไฮยาซินธ์ราคาก็ตกลง ราคาหัวทิวลิปที่แพงที่สุดตกลงไปเหลือเพียง 1–2% ของราคาในช่วงที่มีราคาสูงที่สุดภายในระยะเวลา 30 ปี<ref>{{Harvnb|Garber|1989|pp=553–54}}</ref> การ์เบอร์ตั้งข้อสังเกตอีกว่า “เมื่อไม่นานมานี้หัว[[ลิลลี่]]ตัวอย่างเพียงไม่กี่หัวก็ขายกันในราคาหนึ่งล้านกิลเดอร์ (หรือคิดเป็น 480,000 [[ดอลลาร์สหรัฐ]] ตามอัตราแลกเปลี่ยนในปี ค.ศ. 1987)” ซึ่งแสดงให้เห็นว่าแม้แต่ในปัจจุบันการซื้อขายดอกไม้ในราคาที่สูงมากก็ยังมีอยู่<ref>{{Harvnb|Garber|1989|p=555}}</ref> นอกจากนั้นเพราะราคาที่ขึ้นเกิดขึ้นหลังจากที่หัวทิวลิปได้รับการปลูกแล้วในปีนั้น ฉะนั้นผู้ปลูกจึงไม่มีโอกาสที่จะเพิ่มจำนวนผลผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดได้<ref>{{Harvnb|Garber|1989|pp=555–56}}</ref>
 
==== ความเปลี่ยนแปลงทางกฎหมาย ====
บรรทัด 134:
การประกาศของรัฐสภาที่อนุญาตให้ผู้ซื้อสัญญาสามารถเลี่ยงสัญญาได้โดยการเสียค่าปรับเพียง 3.5 เปอร์เซนต์ของราคาสัญญา<ref>{{Harvnb|Thompson|2007|p=101}}</ref> ก็ยิ่งทำให้นักลงทุนซื้อขายกันด้วยราคาที่สูงหนักยิ่งขึ้นไปอีก นักเก็งกำไรสามารถลงนามในสัญญาซื้อทิวลิปเป็นจำนวน 100 กิลเดอร์ ถ้าราคาขึ้นสูงกว่า 100 กิลเดอร์ นักเก็งกำไรก็จะได้กำไรส่วนที่เกิน แต่ถ้าราคายังคงต่ำนักเก็งกำไรก็สามารถเลี่ยงสัญญาได้โดยเสียค่าปรับเพียง 3.5 กิลเดอร์ ฉะนั้นสัญญามูลค่า 100 กิลเดอร์ สำหรับผู้ลงทุนแล้วก็จะสูญเสียไม่เกิน 3.5 กิลเดอร์ ในเดือนกุมภาพันธ์ราคาสัญญาก็ถึงจุดสุดยอด เจ้าหน้าที่ดัตช์ก็เข้ามาหยุดยั้งการซื้อขายของสัญญาเหล่านี้<ref>{{Harvnb|Thompson|2007|p=111}}</ref>
 
ทอมสันกล่าวว่าตลอดช่วงเวลาเดียวกันนี้การซื้อหัวทิวลิปกันจริงๆจริง ๆ ยังคงอยู่ในระดับปกติ ทอมสันจึงสรุปว่า “ความคลั่ง” เป็นพฤติกรรมที่มีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการรักษาสัญญา<ref>{{Harvnb|Thompson|2007|p=111}}</ref> เมื่อดูจากข้อมูลเกี่ยวกับกรณีการจ่ายของ[[สัญญาซื้อขายล่วงหน้า]] และ [[ออปชัน|สัญญาออปชัน]] ในบางกรณีแล้ว ทอมสันก็โต้ว่าแนวโน้มของราคาสัญญาหัวทิวลิปก็ใกล้เคียงกับแบบจำลองทางเศรษฐกิจที่ตั้งไว้ “ราคาสัญญาซื้อทิวลิปก่อน ระหว่าง และหลังจากการคลั่งทิวลิปดูเหมือนกับว่าจะแสดงลักษณะที่ตรงกันกับลักษณะของ “ความมีประสิทธิภาพของตลาด” (market efficiency) อย่างชัดแจ้ง”<ref>{{Harvnb|Thompson|2007|p=109}}</ref>
 
==== ข้อวิจารณ์ ====
 
นักเศรษฐศาสตร์ผู้อื่นเชื่อว่าคำอธิบายต่างๆต่าง ๆ ที่ว่าไม่สามารถอธิบายถึงราคาที่ขึ้นและตกอย่างรวดเร็วของหัวทิวลิปได้<ref>{{Harvnb|Kindleberger|Aliber|2005|pp=115–16}}</ref> ทฤษฎีของการ์เบอร์ก็ยังได้รับการท้าทายต่อไปว่าไม่ได้ให้คำอธิบายเกี่ยวกับราคาที่ขึ้นและตกอย่างรวดเร็วที่คล้ายคลึงกันของหัวทิวลิปแบบธรรมดา<ref>{{Harvnb|French|2006|p=3}}</ref> นักเศรษฐศาสตร์บางท่านก็ชี้ให้เห็นถึงปัจจัยอื่นๆอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสภาวะการเก็งกำไรเช่นการขยายตัวของ[[ปริมาณเงินหมุนเวียน]] (money supply) ที่เห็นได้จากจำนวนเงินฝากที่เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากของ[[ธนาคารอัมสเตอร์ดัม]]ระหว่างช่วงที่มีการคลั่งทิวลิป<ref>{{Harvnb|French|2006|pp=11–12}}</ref>
 
== ความคลั่งที่มีผลต่อสังคมและผลที่เกิดขึ้นต่อมา ==
บรรทัด 145:
[[ไฟล์:Hans Bollongier - Stilleven met bloemen.jpg|thumb|upright|240px|ภาพทิวลิปที่เขียนโดย [[Hans Gillisz. Bollongier]] ในปี ค.ศ. 1639]]
 
หนังสือของแม็คเคย์ก็ยังเป็นที่นิยมกันแม้จนกระทั่งถึงปัจจุบันนี้ โดยนำ ''Extraordinary Popular Delusions'' มาตีพิมพ์ใหม่อยู่เรื่อยๆเรื่อย ๆ ที่มีบทนำโดยนักเขียนเช่นผู้ลงทุน[[เบอร์นาร์ด บารุค]] (Bernard Baruch) (ค.ศ. 1932) หรือนักเขียนทางการเงิน[[แอนดรูว์ โทไบอัส]] (ค.ศ. 1980),<ref> Introduction by Andrew Tobias to "Extraordinary Popular Delusions and the Madness of Crowds" (New York: Harmony Press, 1980) available on-line at [http://www.andrewtobias.com/ExPopDel-1.html Andrew Tobias, Money and Other Subjects]. Retrieved on August 12, 2008</ref> และ[[ไมเคิล หลุยส์ (นักประพันธ์)|ไมเคิล หลุยส์]] (ค.ศ. 2008) และนักจิตวิทยา[[เดวิด เจย์. ชไนเดอร์]] (ค.ศ. 1993) ซึ่งขณะนี้มีอย่างน้อยหกฉบับที่ยังขายกันอยู่
 
การ์เบอร์โต้ว่าแม้ว่าความคลั่งทิวลิปอาจจะไม่อยู่ในข่ายที่เรียกว่าฟองสบู่ทางเศรษฐกิจหรือฟองสบู่การเก็งกำไร แต่กระนั้นก็เป็นสถานการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนทางจิตวิทยาต่อชาวดัตช์ในด้านอื่น ตามข้อเขียนที่กล่าวว่า “แม้ว่าผลกระทบกระเทือนทางการเงินจะมีต่อคนเพียงไม่กี่คนโดยตรง แต่ความช็อคจากความคลั่งทิวลิปก็ทำให้เกิดการขาดความเชื่อมั่นในโครงสร้างของคุณค่าของสินค้า”<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|p=18}}</ref> ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ความคิดที่ว่าราคาดอกไม้จะสามารถมีค่าสูงกันได้ถึงขนาดที่ประเมินกันเป็นสิ่งที่ยากที่จะเข้าใจได้ ค่าของสายพันธุ์ทิวลิปบางชนิดสูงกว่ารายได้ทั้งปีของบุคคลบางอาชีพ และความคิดที่ว่าราคาดอกไม้ที่ปลูกกันในฤดูร้อนจะมีผลในทำให้ราคามาผันผวนได้ในช่วงฤดูหนาวทำให้เป็นการยากที่จะเข้าใจถึง “มูลค่า” ที่แท้จริงของสินค้าได้<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|pp=276–77}}</ref>
 
แหล่งข้อมูลหลายแหล่งกล่าวถึงความเป็นปฏิปักษ์ต่อความคลั่งทิวลิป เช่นจุลสารเพื่อการต่อต้านการเก็งกำไรที่ต่อมาใช้เป็นงานอ้างอิงของบทเขียนของเบ็คมันน์และแม็คเคย์ถึงผลเสียหายในทางเศรษฐกิจ แต่จุลสารเหล่านี้มิได้เขียนโดยผู้ที่ได้รับความเสียหายโดยตรงเมื่อตลาดล่ม แต่เขียนโดยผู้มีอิทธิพลจากความเชื่อทางศาสนา ซึ่งถือโอกาสประณามความวุ่นวายที่เกิดขึ้นว่าเป็นผลมาจากความเสื่อมโทรมทางจริยธรรมของสังคม—และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก็เป็นเครื่องพิสูจน์ให้เห็นว่า “ผู้ที่มีความมัวเมาในทางโลก แทนที่จะเป็นทางธรรมได้รับการลงโทษอย่างรุนแรง” ดังนั้นเหตุการณ์ดังกล่าวอาจจะเป็นเรื่องเล็กๆเล็ก ๆ ในทางเศรษฐกิจที่หยิบยกมาเติมสีสันให้เป็นเรื่องสอนใจด้านคุณธรรม<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|pp=260–61}}</ref>
 
อีกร้อยปีต่อมาระหว่างที่[[บริษัทมิสซิสซิปปี]]ล่ม และ[[เหตุการณ์ฟองสบู่แตกเซาธ์ซี]] ราวปี ค.ศ. 1720 ก็มีการอ้างถึงความคลั่งทิวลิปในการเสียดสีถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|pp=307–09}}</ref> เมื่อกล่าวถึงความคลั่งทิวลิปเป็นครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1780 [[โยฮันน์ เบ็คมันน์]]เปรียบเทียบเหตุการณ์นี้กับการซื้อสลากกินแบ่ง<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|p=313}}</ref> ตามความคิดเห็นของโกลด์การ์และนักเขียนเกี่ยวกับสภาวะการลงทุนสมัยใหม่เช่น[[เบอร์ตัน มาลคีล]] (Burton Malkiel) ''A Random Walk Down Wall Street'' (ค.ศ. 1973) และ [[จอห์น เค็นเน็ธ กาลเบร็ธ]] (John Kenneth Galbraith) ใน ''A Short History of Financial Euphoria'' (ค.ศ. 1990) ที่เขียนไม่นานหลังจาก[[วันจันทร์ทมิฬ|ตลาดหลักทรัพย์ล่ม]]ของปี ค.ศ. 1987 ก็ใช้เรื่องราวของความคลั่งทิวลิปเป็นบทเรียนทางจริยธรรม<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|p=314}}</ref><ref>{{Harvnb|Galbraith|1990|p=34}}</ref><ref>{{Harvnb|Malkiel|2007|pp=35–38}}</ref> นอกจากนั้นแล้วความผันผวนของตลาดทิวลิปก็ยังเป็นโครงเรื่องในนวนิยายที่เขียนโดย[[เกรกอรี แมไกวร์]] (Gregory Maguire) ''Confessions of an Ugly Stepsister'' (ค.ศ. 1999) <ref>Maguire, HarperCollins, 1999</ref><ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|p=329}}</ref>