ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวมอญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
| region2 = {{flag|ไทย}}
| pop2 = 100,000
 
| languages = [[ภาษามอญ]], [[ภาษาพม่า]], [[ภาษาไทย]]
| religions = [[ศาสนาพุทธ|พุทธ]]นิกาย[[เถรวาท]]
เส้น 19 ⟶ 18:
นักภูมิศาสตร์อาหรับบางท่านเรียกมอญว่า รามัญประเทศ (Ramannadesa) ซึ่งหมายถึง "ประเทศมอญ" คำนี้เพี้ยนมาจากคำศัพท์โบราณของ มอญ คือ "รามัญ" (Rmen) ซึ่งเป็นคำที่ใช้เรียกตัวเองของมอญ แต่พม่าเรียกมอญว่า "ตะเลง" (Talaing) ซึ่งเพี้ยนมาจากคำว่า [[Telangana]] อันเป็นแคว้นหนึ่งทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของ[[ประเทศอินเดีย]]
 
ส่วนนาม รามัญ พบเก่าสุดใน[[มหาวังสะ]]ของ[[สิงหล]] ในสมัย[[พระเจ้าจั่นจานซิตาต้า]]แห่ง[[อาณาจักรพุกาม|พุกาม]] พบคำนี้ในศิลาจารึกมอญ เขียนออกเสียงว่า รมีง ซึ่งในจารึกนั้น ก็พบคำเรียกพม่าอ่านว่า มิรมา อีกด้วย ส่วนในสมัยหงสาวดี พบจารึกแผ่นทองเขียนอ่านว่า รมัน คล้ายกับที่ไทยเรียก รามัญ ส่วนในเขตรามัญเทสะ จะเรียกว่า มัน หรือ มูน ซึ่งใกล้กับคำว่า มอญ ในภาษาไทย
 
== ประวัติ ==
{{บทความหลัก|อาณาจักรมอญ}}
[[ไฟล์:Caamdevi.jpg|thumb|'''[[พระนางจามเทวี''']]]]
มอญเป็นชนชาติเก่าแก่ มีอารยธรรมรุ่งเรืองมากชนชาติหนึ่ง จากพงศาวดารพม่ากล่าวว่า "มอญเป็นชนชาติแรกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในพม่า มาเป็นเวลาหลายศตวรรษก่อนคริสตกาล" คาดว่าน่าจะอพยพมาจากตอนกลางของ[[ทวีปเอเชีย]] เข้ามาตั้งอาณาจักรของตนทางตอนใต้ บริเวณลุ่ม[[แม่น้ำสาละวิน]] และ[[แม่น้ำสะโตง]] ซึ่งบริเวณนี้ในเอกสารของจีนและอินเดียเรียกว่า "[[ดินแดนสุวรรณภูมิ]]"
 
เส้น 41 ⟶ 40:
=== ภาษาและอักษรมอญ ===
{{บทความหลัก|อักษรมอญ|ภาษามอญ}}
[[ไฟล์:Myazedi-Inscription-Mon.JPG|thumb|234x234px|ศิลาจารึกมยาเซดี (ค.ศ. 1113) เป็นศฺิลาจารึกมอญในพุกามสมัย[[พระเจ้าจานซิต้า]] หนึ่งในศิลาจารึกที่เก่าแก่ที่สุดของพม่า]]
ภาษามอญ มีการใช้มานานประมาณ 3,000-4,000 ปี เป็นภาษาในตระกูลภาษามอญ-เขมร มีผู้ใช้ภาษานี้อยู่ประมาณ 5,000,000 คน ส่วนอักษรมอญ พบหลักฐานในประเทศไทยที่จารึก[[วัดโพธิ์ร้าง]] อายุราวพุทธศตวรรษ 12 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบในแถบเอเซียอาคเนย์ เป็นจารึกที่เขียนด้วยตัว[[อักษรปัลลวะ]] ที่ยังไม่ได้ดัดแปลงให้เป็นอักษรมอญ พบว่ามีการประดิษฐ์อักษรมอญขึ้นเพื่อให้พอกับเสียงในภาษามอญ<ref name="พ"/> และในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูง เมือง[[ลพบุรี]] จารึกในพุทธศตวรรษที่ 14 ราว [[พ.ศ. 1314]] เป็นตัวอักษรมอญโบราณหลังปัลลวะ มีเนื้อหาเกี่ยวกับ[[พระพุทธศาสนา]]<ref>http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=921</ref>
 
บรรทัด 61:
 
=== ประเพณีและศาสนา ===
[[ไฟล์:KhaoChae.JPG|thumb|[[ข้าวแช่]]]]
ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวมอญนั้น มีวัฒนธรรมเป็นแบบฉบับมายาวนาน บางอย่างมีอิทธิพลให้กับชนชาติใกล้เคียง เช่น [[ประเพณีสงกรานต์]] [[ข้าวแช่]] ฯลฯ บางอย่างก็ถือปฏิบัติกันแต่เฉพาะในหมู่ชนมอญเท่านั้น ชาวมอญมีเลื่อมใสใน[[พระพุทธศาสนา]]อย่างลึกซึ้ง ขณะเดียวกันก็นับถือผีบรรพบุรุษกับผีอื่น ๆ ที่มีอิทธิฤทธิ์ รวมทั้ง[[เทวดา]]องครักษ์<ref>http://www.thaiws.com/pmch/monstudies.htm</ref>
 
เส้น 77 ⟶ 78:
=== มอญอพยพ ===
[[ไฟล์:0000226 - Wat Poramaiyikawas Worawihan 001.jpg|thumb|[[วัดปรมัยยิกาวาส]]]]
[[ไฟล์:KhaoChae.JPG|thumb|[[ข้าวแช่]]]]
ทุกวันนี้ชนชาติมอญ ไม่มีอาณาเขตประเทศปกครองตนเอง เนื่องจากตกอยู่ในภาวะสงคราม การแย่งชิงราชสมบัติกันเอง และการรุกรานจากพม่า ชาวมอญอยู่อย่างแสนสาหัส ถูกกดขี่รีดไถ มีการเกณฑ์แรงงานก่อสร้าง ทำไร่นาหาเสบียงเพื่อการสงคราม และเกณฑ์เข้ากองทัพ โดยเฉพาะสงครามในปี [[พ.ศ. 2300]] สมัย[[พระเจ้าอลองพญา]]เป็นสงครามครั้งสุดท้าย ที่ชาวมอญพ่ายแพ้แก่พม่าอย่างราบคาบ ชาวมอญส่วนหนึ่งจึงอพยพโยกย้ายเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนในเมืองไทยหลายต่อหลายครั้ง เท่าที่มีการจดบันทึกเอาไว้รวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ชาวมอญ"