ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางช้างเผือก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขข้อมูลที่ผิด
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ปกรณ์ นรานอก (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 32:
| below=ดูเพิ่ม: [[ดาราจักร]], [[รายชื่อดาราจักร]]
}}
'''ทางช้างเผือก''' ({{lang-en|Milky Way}}) คือ[[ดาราจักร]]ที่เป็นที่ตั้งของ[[ระบบสุริยะ]]และ[[โลก (ดาวเคราะห์)|โลก]]ของเรา<ref name=OxfordOnline>{{cite web | title=Oxford Dictionaries | url=http://oxforddictionaries.com/definition/english/Milky%2BWay?q=Milky+Way | title=Milky Way | publisher=Oxford University Press | accessdate=2012-10-31}}</ref><ref name=Webster>{{cite web | first=Merriam-Webster Incorportated | url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/milky+way+galaxy?show=0&t=1351723667 | title=Milky Way Galaxy | publisher=Merriam-Webster Incorportated | accessdate=2012-10-31}}</ref><ref name=Britannica>{{cite web | first=Encyclopædia Britannica, Inc. | url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/382567/Milky-Way-Galaxy | title=Milky Way Galaxy | publisher=Encyclopædia Britannica, Inc. | accessdate=2012-10-31}}</ref> ชื่อภาษาอังกฤษของทางช้างเผือก (Milky Way) มาจากคำ[[ภาษากรีก]]ว่า γαλαξίας κύκλος (กาลาซิอัส คูคลอส, "วงกลมสีน้ำนม") โดยเมื่อมองบนท้องฟ้าจะปรากฏเป็นแถบขมุกขมัวคล้ายเมฆของ[[แสง]]สว่าง[[สีขาว]] ซึ่งเกิดจาก[[ดาวฤกษ์]]จำนวนมากภายใน[[ดาราจักร]]ที่มีรูปร่างเป็นแผ่นจาน แต่เดิมนั้นนักดาราศาสตร์คิดว่าดาราจักรทางช้างเผือกมีลักษณะเป็น[[ดาราจักรชนิดก้นหอย]]ธรรมดา แต่หลังจากผ่านการประเมินครั้งใหม่ในปี [[พ.ศ. 2548]] พบว่าทางช้างเผือกน่าจะเป็น[[ดาราจักรชนิดก้นหอยมีคาน]]เสียมากกว่า. เส้นผ่าศูนย์กลางของดาราจักรทางช้างเผือกมีระยะทางระหว่าง 150,000 ถึง 200,000 ปีแสง(หรือประมาณ 100,000 ปีเเสง)<ref>{{cite web |author=M. López-Corredoira, C. Allende Prieto, F. Garzón, H. Wang, C. Liu and L. Deng|url=https://www.aanda.org/articles/aa/full_html/2018/04/aa32880-18/aa32880-18.html |publisher=[[Astronomy and Astrophysics]] |title=Disk stars in the Milky Way detected beyond 25 kpc from its center }}</ref><ref>{{cite press release |author=David Freeman|title=The Milky Way galaxy may be much bigger than we thought|url=https://www.nbcnews.com/mach/science/milky-way-galaxy-may-be-much-bigger-we-thought-ncna876966 |date=May 25, 2018 |publisher=[[CNBC]]}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.space.com/29270-milky-way-size-larger-than-thought.html |title=Size of the Milky Way Upgraded, Solving Galaxy Puzzle |publisher=Space.com |last=Hall |first=Shannon |date=May 4, 2015 |accessdate=June 9, 2015 |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20150607104254/http://www.space.com/29270-milky-way-size-larger-than-thought.html |archivedate=June 7, 2015 }}</ref> และมีจำนวนดาวฤกษ์ประมาณ 1 แสนล้าน ถึง 4 แสนล้านดวง<ref>{{cite web |title=Milky Way |url=http://www.bbc.co.uk/science/space/universe/key_places/milky_way |publisher=[[BBC]] |archiveurl=https://web.archive.org/web/20120302071454/http://www.bbc.co.uk/science/space/universe/key_places/milky_way |archivedate=March 2, 2012 }}</ref><ref>{{cite web|url=http://asd.gsfc.nasa.gov/blueshift/index.php/2015/07/22/how-many-stars-in-the-milky-way/ |title=How Many Stars in the Milky Way? |work=NASA Blueshift |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20160125140109/http://asd.gsfc.nasa.gov/blueshift/index.php/2015/07/22/how-many-stars-in-the-milky-way/ |archivedate=January 25, 2016 }}</ref> ส่วนที่สว่างที่สุดของทางช้างเผือกอยู่บริเวณ[[กลุ่มดาวคนยิงธนู]] ซึ่งเป็นทิศทางไปสู่[[ใจกลางดาราจักร]] ณ จุดศุนย์กลางของดาราจักรทางช้างเผือกเป็นแหล่งคลื่นวิทยุที่มีความเข้มข้นสูง เรียกว่า [[ซากิตทาเรียส A]] โดยจุดที่สัญญาณเข้มข้นที่สุดเรียกว่า [[ซากิตทาเรียส A*]] ซึ่งคาดว่าจะเป็น[[หลุมดำมวลยิ่งยวด]] ที่มีขนาดมวลราว 4.100 (± 0.034) ล้านเท่าของ[[มวลดวงอาทิตย์|มวลสุริยะ]]
 
[[ระบบสุริยะ]]อยู่ห่างจากใจกลางดาราจักรออกมาราว 26,490 (± 100) ปีแสง โดยตั้งอยู่ตรงขอบด้านในของ[[แขนนายพราน]] (Orion Arm) เมื่อเทียบกับ[[เส้นศูนย์สูตรฟ้า]] ทางช้างเผือกขึ้นไปเหนือสุดที่[[กลุ่มดาวแคสซิโอเปีย]] และลงไปใต้สุดบริเวณ[[กลุ่มดาวกางเขนใต้]] ซึ่งแสดงให้เห็นว่าระนาบ[[เส้นศูนย์สูตร|ศูนย์สูตร]]ของ[[โลก]] ทำมุมเอียงกับ[[ระนาบดาราจักร]]อยู่มาก คนในเมืองใหญ่ไม่มีโอกาสมองเห็นทางช้างเผือกเนื่องจาก[[มลภาวะทางแสง]]และฝุ่นควันในตัวเมือง แถบชานเมืองและในที่ห่างไกลสามารถมองเห็นทางช้างเผือกได้ แต่บางคนอาจนึกว่าเป็นก้อน[[เมฆ]]ใน[[บรรยากาศ|บรรยากาศ]]