ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเข้มข้น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มันน่ารักดี
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 4:
การที่จะทำให้สารละลาย'''เข้มข้น'''ขึ้น ทำได้โดยการเพิ่มปริมาณของตัวถูกละลายมากขึ้น หรือการลดตัวทำละลายลง ในทางตรงข้าม การที่จะทำให้สารละลาย'''เจือจาง'''ลง ก็จะต้องเพิ่มตัวทำละลายขึ้น หรือลดตัวถูกละลายลง เป็นอาทิ ถึงแม้สสารทั้งสองชนิดจะผสมกันได้อย่างเต็มที่ แต่ก็จะมีความเข้มข้นค่าหนึ่งซึ่งตัวถูกละลายจะไม่[[ละลาย]]ในสารผสมนั้นอีกต่อไป ที่จุดนี้เรียกว่า[[จุดอิ่มตัว]]ของสารละลาย ซึ่งขึ้นอยู่กับตัวแปรหลายอย่าง เช่น[[อุณหภูมิ]]แวดล้อม และ[[สมบัติทางเคมี]]โดยธรรมชาติของสสารชนิดนั้น
 
== การอธิบายเชิงคุณภาพอิอิขุคิมุมิ ==
บางครั้งในภาษาที่ไม่เป็นทางการหรือทางเทคนิค ความเข้มข้นจะถูกอธิบายในเชิง[[คุณภาพ]] โดยใช้คำว่า "เจือจาง, จาง, อ่อน" สำหรับแสดงความเข้มข้นน้อย และคำว่า "เข้มข้น, เข้ม, แก่" สำหรับความเข้มข้นมาก คำเหล่านี้เกี่ยวข้องกับปริมาณของสสารในสารผสม ซึ่งสามารถสังเกตได้จากปฏิกิริยาหรือสมบัติที่เกิดขึ้นของสสารนั้น ตัวอย่างเช่น ความเข้มข้นของสารละลายที่มี[[สี]] สามารถดูได้จากความอ่อนเข้มของสีที่ปรากฏ ยิ่งสีเข้มมากเท่าไรก็หมายความว่ามีความเข้มข้นมากเท่านั้น หรือความเข้มข้นของ[[น้ำเกลือ]] สามารถสังเกตได้โดยการชิมรส ยิ่งเค็มมากแสดงว่ามีความเข้มข้นของ[[เกลือ]]มาก