ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 119:
การค้าขายระหว่างสองประเทศกลับมาดำเนินตามปกติภายหลังสงครามยุติลง สหราชอาณาจักรอนุญาตให้มีการส่งออกไปยังสหรัฐทุกรูปแบบ แต่ห้ามไม่ให้สหรัฐส่งออกอาหารบางประเภทไปยังอาณานิคม[[แคริบเบียน|อีนดีสตะวันตก]]ของตน การส่งออกของสหราชอาณาจักรมีมูลค่าเพิ่มขึ้นถึงระดับ 3.7 ล้านปอนด์ฯ ในขณะที่นำเข้าจากสหรัฐมีมูลค่าเพียง 750,000 ปอนด์ฯ ความไม่สมดุลทางการค้านี้เองที่ทำให้สหรัฐขาดแคลนทองคำในเวลาต่อมา
 
ในปี พ.ศ. 2328 ประธานาธิบดี[[จอห์น แอดัมส์]] เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม (plenipotentiary minister; ปัจจุบันเป็น ''เอกอัครราชทูต''; ambassador) ประจำราชสำนักเซนต์เจมส์ [[พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าจอร์จที่ 3]] มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ต้อนรับเขาเป็นอย่างดี ในปี พ.ศ. 2334 สหราชอาณาจักรส่งอุปทูตคนแรกนามว่า จอร์จ แฮมมอนด์ ไปประจำสหรัฐ เมื่อสหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2336 ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐและสหราชอาณาจักรหยุดชะงักจนเกือบจะทำสงครามต่อกัน ความตึงเครียดดังกล่าวยุติลงด้วย[[สนธิสัญญาเจย์]]ในปีถัดมา อันก่อให้เกิดทศวรรษแห่งการค้าที่รุ่งเรืองและสงบสุขระหว่างสองชาติ<ref>Perkins (1955)</ref> นักประวัติศาสตร์มาร์แชล สเมลเซอร์ โต้แย้งว่าสนธิสัญญาดังกล่าวเป็นการเลื่อนสงครามกับสหราชอาณาจักรออกไปเสียมากกว่า หรืออย่างน้อยก็เลื่อนสงครามออกไปจนกระทั่งสหรัฐแข็งแกร่งพอที่จะได้รับชัยชนะในสงคราม<ref>Marshall Smelser, ''The Democratic Republic, 1801–1815'' (1968).</ref> นักประวัติศาสตร์ แบรดฟอร์ด เพิร์ชคินส์ กลับโต้แย้งแนวคิดของสเมลเซอร์ ว่าแท้จริงแล้วสนธิสัญญาเจย์เป็นจุดเริ่มต้นของ ''[[สายสัมพันธ์พิเศษ]]'' ระหว่างสหราชอาณาจักรและสหรัฐ ในทรรศนะของเพิร์ชคิน สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นตัวช่วยนำพาช่วงเวลาแห่งความสงบสุขระหว่างสองรัฐเป็นเวลารวมสิบปี ซึ่งเข้าได้กล่าวสรุปไว้ว่า "ช่วงหนึ่งทศวรรษดังกล่าวนั้นอาจได้รับการขนานนามว่า ''การกระชับมิตรครั้งที่หนึ่ง'' ก็ว่าได้"
 
เมื่อสหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2336 ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐและสหราชอาณาจักรหยุดชะงักจนเกือบจะทำสงครามต่อกัน ความตึงเครียดดังกล่าวยุติลงด้วย[[สนธิสัญญาเจย์]]ในปีถัดมา อันก่อให้เกิดทศวรรษแห่งการค้าที่รุ่งเรืองและสงบสุขระหว่างสองชาติ<ref>Perkins (1955)</ref> นักประวัติศาสตร์มาร์แชล สเมลเซอร์ โต้แย้งว่าสนธิสัญญาดังกล่าวเป็นการเลื่อนสงครามกับสหราชอาณาจักรออกไปเสียมากกว่า หรืออย่างน้อยก็เลื่อนสงครามออกไปจนกระทั่งสหรัฐแข็งแกร่งพอที่จะได้รับชัยชนะในสงคราม<ref>Marshall Smelser, ''The Democratic Republic, 1801–1815'' (1968).</ref>
 
นักประวัติศาสตร์ แบรดฟอร์ด เพิร์ชคินส์ กลับโต้แย้งแนวคิดของสเมลเซอร์ ว่าแท้จริงแล้วสนธิสัญญาเจย์เป็นจุดเริ่มต้นของ ''[[สายสัมพันธ์พิเศษ]]'' ระหว่างสหราชอาณาจักรและสหรัฐ ในทรรศนะของเพิร์ชคิน สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นตัวช่วยนำพาช่วงเวลาแห่งความสงบสุขระหว่างสองรัฐเป็นเวลารวมสิบปี ซึ่งเข้าได้กล่าวสรุปไว้ว่า "ช่วงหนึ่งทศวรรษดังกล่าวนั้นอาจได้รับการขนานนามว่า ''การกระชับมิตรครั้งที่หนึ่ง'' ก็ว่าได้"
 
{{คำพูด|เป็นเวลาสิบกว่าปีที่พื้นที่แนวหน้าสงบสุข การเล็งเห็นคุณค่าร่วมกันของพาณิชยกรรมระหว่างสองประเทศ การยุติความขัดแย้งในการยึดเรือลำต่างๆ และการผลักดันขุมอำนาจที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ให้ใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม<ref>Perkins p. vii</ref>}}
 
ตั้งแต่สนธิสัญญาเจย์มีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2337 สนธิสัญญาฉบับนี้ได้ทลายความตึกเครียดซึ่งเพิร์ชคินส์สรุปไว้ว่า: "ตลอดช่วงทศวรรษแห่งสงครามและความสงบสุขของโลก รัฐบาลชุดถัดๆ มาของรัฐจากสองฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกสามารถที่จะนำมาและดำรงไว้ซึ่งมิตรภาพระหว่างกัน อันเป็นหนทางที่จะนำไปสู่ความสัมพันธ์ที่จริงใจต่อกัน"<ref>Bradford Perkins, ''The First Rapprochement: England and the United States, 1795–1805'' (1955) p. 1.</ref> นักประวัติศาสตร์ โจเซฟ เอลลิส มองว่าสนธิสัญญาอีกด้านหนึ่งให้ประโยชน์เอื้อแก่ฝ่ายสหราชอาณาจักร ซึ่งสวนทางกับแนวคิดของนักประวัติศาสตร์ส่วนมากที่ลงความเห็นไปในทางเดียวกันว่า:
 
นักประวัติศาสตร์ โจเซฟ เอลลิส มองว่าสนธิสัญญาอีกด้านหนึ่งให้ประโยชน์เอื้อแก่ฝ่ายสหราชอาณาจักร ซึ่งสวนทางกับแนวคิดของนักประวัติศาสตร์ส่วนมากที่ลงความเห็นไปในทางเดียวกันว่า:
 
{{คำพูด|สนธิสัญญาเจย์เป็นการต่อรองอันชาญฉลาดของสหรัฐ สนธิสัญญาเดิมพันกับอังกฤษ ชาติมหาอำนาจยุโรปผู้มีอิทธิพลที่สุดในโลกในอนาคตข้างหน้า แทนที่จะเป็นฝรั่งเศส ซึ่งได้พิสูจน์แล้วว่าเป็นเพียงคำทำนาย สนธิสัญญาฉบับดังกล่าวให้การยอมรับถึงอธิปไตยเต็มขั้นของเศรษฐกิจสหรัฐในการค้ากับสหราชอาณาจักร เป็นการแสดงให้เห็นถึงความล้าหลังของ[[ลัทธิมอนโร]] (พ.ศ. 2366) สนธิสัญญายังช่วยให้สหรัฐพัฒนาเศรษฐกิจและความมั่นคงภายในให้เทียบเท่าสหราชอาณาจักร อันนำมาซึ่งเกราะกำบังที่จะช่วยปกป้องสหรัฐจากภาวะการณ์ที่ไม่แน่นอนของโลกตลอดช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะการหลีกเลี่ยงสงครามกับสหราชอาณาจักรไปจนกระทั่งสหรัฐมีความสามารถทางเศรษฐกิจและการเมืองมากพอที่จะต่อสู้อย่างไม่เสียเปรียบ<ref>Joseph Ellis, ''Founding Brothers: The Revolutionary Generation'' (2000) pp. 136–7.</ref>}}
 
สหรัฐประกาศแสดงตนว่าเป็นกลางในสงครามรหะว่างสหราชอาณาจักรกับฝรั่งเศส (พ.ศ. 2336 - 2358) และสร้างผลกำไรมากมายจากการขายเสบียงอาหารและท่อนซุงให้แก่ทั้งสองฝ่าย [[ทอมัส เจฟเฟอร์สัน]] ต้อต้านต่อต้านสนธิสัญญาเจย์บางส่วน เนื่องจากความกังวลของเขาที่ว่าสนธิสัญญาอาจทำให้ฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐนิยมซึ่งเป็นศัตรูทางการเมืองของเขาจะแข็งแกร่งขึ้น แต่เมื่อเจฟเฟอร์สันเข้าสาบานตนเป็นประธานาธิบดีฯ ในปี พ.ศ. 2344 เขาก็ไม่ได้ล้มเลิกสนธิสัญญาฉบับดังกล่าว เขายังให้เอกอัครราชทูตวิสามัญฯ หัวสหพันธรัฐนิยม รูฟัส คิง ดำรงตำแหน่งเดิมในกรุงลอนดอนต่อไป เพื่อเจรจาต่อร้องในประเด็นละเอียดอ่อนอย่างการชำระเงินสดและการปักปันเขตแดน ซึ่งการเจรจาประสบผลสำเร็จด้วยดีในภายหลัง ต่อมามิตรภาพระหว่างสองชาติก็ดำเนินมาสู่ความตึงเครียดอีกครั้งในปี พ.ศ. 2348 ก่อนนำไปสู่สงคราม พ.ศ. 2355 ในท้ายที่สุด เจฟเฟอร์สันปฏิเสธที่จะรื้อฟื้นสนธิสัญญาเจย์ใน[[สนธิสัญญามอนโร-พิงค์นีย์]] พ.ศ. 2349 ทั้งที่เจรจาและได้รับความเห็นสอบจากคณะทูตสหรัฐ ณ กรุงลอนดอน เจฟเฟอร์สันกลับเลือกที่จะไม่ส่งร่างสนธิสัญญาฉบับดังกล่าวเข้าสู่การพิจารณาของสภาสูง ([[วุฒิสภาสหรัฐ]])
สหรัฐประกาศแสดงตนว่าเป็นกลางในสงครามรหะว่างสหราชอาณาจักรกับฝรั่งเศส (พ.ศ. 2336 - 2358) และสร้างผลกำไรมากมายจากการขายเสบียงอาหารและท่อนซุงให้แก่ทั้งสองฝ่าย
 
[[ทอมัส เจฟเฟอร์สัน]] ต้อต้านสนธิสัญญาเจย์บางส่วน เนื่องจากความกังวลของเขาที่ว่าสนธิสัญญาอาจทำให้ฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐนิยมซึ่งเป็นศัตรูทางการเมืองของเขาจะแข็งแกร่งขึ้น แต่เมื่อเจฟเฟอร์สันเข้าสาบานตนเป็นประธานาธิบดีฯ ในปี พ.ศ. 2344 เขาก็ไม่ได้ล้มเลิกสนธิสัญญาฉบับดังกล่าว เขายังให้เอกอัครราชทูตวิสามัญฯ หัวสหพันธรัฐนิยม รูฟัส คิง ดำรงตำแหน่งเดิมในกรุงลอนดอนต่อไป เพื่อเจรจาต่อร้องในประเด็นละเอียดอ่อนอย่างการชำระเงินสดและการปักปันเขตแดน ซึ่งการเจรจาประสบผลสำเร็จด้วยดีในภายหลัง ต่อมามิตรภาพระหว่างสองชาติก็ดำเนินมาสู่ความตึงเครียดอีกครั้งในปี พ.ศ. 2348 ก่อนนำไปสู่สงคราม พ.ศ. 2355 ในท้ายที่สุด เจฟเฟอร์สันปฏิเสธที่จะรื้อฟื้นสนธิสัญญาเจย์ใน[[สนธิสัญญามอนโร-พิงค์นีย์]] พ.ศ. 2349 ทั้งที่เจรจาและได้รับความเห็นสอบจากคณะทูตสหรัฐ ณ กรุงลอนดอน เจฟเฟอร์สันกลับเลือกที่จะไม่ส่งร่างสนธิสัญญาฉบับดังกล่าวเข้าสู่การพิจารณาของสภาสูง ([[วุฒิสภาสหรัฐ]])
 
การค้าทาสระหว่างประเทศถูกปราบปรามภายหลังที่[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่]]ผ่าน[[ร่างพระราชบัญญัติการค้าทาส|ร่างพระราชบัญญัติเลิกการค้าทาส]]ในปี พ.ศ. 2350 และสหรัฐก็ผ่านร่างพระราชบัญญัติลักษณะเดียวกันในปีเดียวกันนั้นเอง