ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| name = สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br>เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี
| birth_name = พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าจันทบุรี
| title = สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้นที่ 1 เจ้าฟ้าชั้นโท สมเด็จพระราชชายานารีในรัชกาลที่ 2
| พระราชสมภพ
| birth_date = พ.ศ. 2341
| death_style = สวรรคตสิ้นพระชนม์
| death_date = 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2381<br>พระชันษา 42 ปี
| father= [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]
บรรทัด 16:
}}
 
'''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี'''<ref name="ราชสกุลวงศ์"''>ราชสกุลวงศ์'', หน้า 18-19</ref> เป็น(พระอัครมเหสีใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]นามเดิม บางคราวเรียกว่าสมเด็จพระอัครมเหสีฝ่ายซ้าย''พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าจันทบุรี''; พ.ศ. 2341 — 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2381) พระองค์เป็นพระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเจ้าทองสุกซึ่งเป็นพระธิดาใน[[พระเจ้าอินทวงศ์]]แห่งนคร[[เวียงจันทน์]] พระนามเดิมว่าต่อมาทรงได้รับการสถาปนาเป็น '''สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าจันทบุรี'เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี'' และได้มีพระราชพิธีโสกันต์เต็มตามพระยศสมเด็จเจ้าฟ้าเป็นครั้งแรกของ[[กรุงรัตนโกสินทร์]]
 
ในสมัยรัชกาลที่ 2 ทรงเข้ารับราชการฝ่ายในเป็นพระมเหสีใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] แม้จะทรงมีฐานันดรศักดิ์สูงกว่า[[สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี|สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด]] แต่พระราชสวามีก็มิได้ทรงยกย่องหรือสถาปนาพระยศพระองค์ให้สูงขึ้นแต่อย่างใดตลอดรัชสมัย พระองค์มีพระราชโอรส 3 พระองค์ พระราชธิดา 1 พระองค์ สิ้นพระชนม์ในสมัยรัชกาลที่ 3 เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2381
 
== พระราชประวัติ ==
=== สมเด็จพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 1 ===
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี มีพระนามเดิมว่า '''พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าจันทบุรี''' เป็นพระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]กับเจ้าจอมมารดาทองสุก พระราชธิดาพระเจ้าอินทวงศ์แห่งนครเวียงจันทน์ แห่งราชอาณาจักรลาว ประสูติเมื่อ ปีมะเมีย พ.ศ. 2341<ref name="ราชสกุลวงศ์"/> เมื่อพระชันษาได้ 5 ปี เจ้าจอมมารดาทองสุกก็ถึงแก่พิราลัย เมื่อประมาณ ปีกุนเบญจศก พ.ศ. 2346
 
เส้น 35 ⟶ 38:
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หัว ทรงพระราชวิจารณ์ไว้ว่า "พระองค์เจ้าองค์นี้มีนามว่า จันทบุรี ตามชื่อเมืองเวียงจันทน์ ในจดหมายเหตุเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ว่าตกหลังเรือบัลลังก์ การสมโภชแต่ก่อนมีเฉพาะเจ้าฟ้าทั้งประสูติและโสกันต์"
 
=== พระราชพิธีโสกันต์ ===
ต่อมาในรัชกาลที่ 1 นั่นเอง ถึงปีมะโรง พ.ศ. 2351 สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีมีพระชนม์ได้ 11 พรรษา ถึงกำหนดจะโสกันต์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดทำพระราชพิธีโสกันต์เจ้าฟ้าให้เต็มตามตำราครั้งกรุงเก่าเป็นต้นมา เพื่อให้เป็นแบบแผนไว้ในแผ่นดินต่อไป จึงนับว่าเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีเป็นพระองค์แรกในกรุงรัตนโกสินทร์นี้ ที่ได้รับพระราชทานพิธีโสกัณฑ์เจ้าฟ้าอย่างเต็มตำรา ดังความปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 ฉบับ[[เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)|เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)]] มีว่าดังนี้
 
เส้น 86 ⟶ 89:
{{คำพูด|ก็พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้มีพระราชธิดาพระองค์หนึ่ง มารดาเป็นบุตรีเจ้าเมืองเวียงจันทน์โปรดให้เป็นแต่เพียงพระองค์เจ้า เหมือนกันกับพระราชบุตรแลพระราชบุตรพระองค์อื่นที่ประสูติแต่พระสนม เจ้าจอมมารดาของพระองค์เจ้านั้นสิ้นชีพในปีกุนเบญจศก เมื่อกรมพระราชวังบวรสวรรคตแล้วนั้น พระองค์เจ้านั้นมีพระชนมายุได้ 5 ขวบ เป็นกำพร้าไม่มีเจ้าจอมมารดา ทรงพระกรุณามาก ภายหลังล่วงมาปีหนึ่งพระองค์เจ้านั้นตามเสด็จลงไปลอยกระทง วิ่งเล่นตกน้ำหายไป คนทั้งปวงตกใจเที่ยวหาอยู่ครู่หนึ่ง จึงพบพระองค์เจ้าไปเกาะทุ่นหยวกอยู่หาจมน้ำไม่ ผู้พบเชิญเสด็จกลับมาได้ จึงทรงพระกรุณาโปรดมากขึ้น มีพระบรมราชโองการดำรัสว่า พระองค์เจ้านี้เจ้าจอมมารดาก็เป็นฝ่ายลาว อัยยิกาธิบดีคือท้าวเจ้าเวียงจันทน์ก็ยังอยู่ ควรจะให้เลื่อนที่เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า การพิธีโสกันต์ในพระบรมมหาราชวังแต่ตั้งแผ่นดินมาก็ยังหาได้ทำไม่ ถ้าถึงคราวโสกันต์จะได้ทำให้เป็นแบบอย่างในแผ่นดิน จึงโปรดพระราชทานพระสุพรรณบัฏให้เป็น สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี เจ้าฟ้านั้นเมื่อถึงปีมะโรงสัมฤทธิศก ศักราช 1170 ตรงกับปีมีคริสต์ศักราช 1808 พระชนมายุครบ 11 ปีถึงกำหนดโสกันต์ เมื่อนั้นเจ้าฟ้าพินทวดีที่เป็นผู้ชี้การมาก็สิ้นพระชนม์ไปแล้วถึง 7 ปี}}
 
=== พระราชชายานารีมเหสีในรัชกาลที่ 2 ===
ต่อมาในรัชกาลที่ 2 ได้ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระ[[มเหสี]] ที่ '''สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี''' เมื่อก่อน พ.ศ. 2359 พระชนมายุได้ประมาณ 17 หรือ 18 พรรษา ที่กล่าวว่าก่อน พ.ศ. 2359 นั้น เพราะเหตุว่าเจ้าฟ้าอาภรณ์พระโอรสพระองค์แรกประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 5 แรม 7ค่ำ ตรงกับวันที่ 19 เมษายน ปีชวด พ.ศ. 2359 จึงพอสันนิษฐานได้ว่า พระองค์ได้เป็นพระราชชายานารีพระอัครมเหสีมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อพระชนมายุได้ 17 หรือ 18 พรรษา ดังได้กล่าวมาแล้ว
 
กล่าวกันว่า เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีนั้นเปรียบเหมือนนางบุษบาวตีในพระราชนิพนธ์อิเหนา ส่วน[[สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี|สมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์]] พระอัครชายาเดิม คือ เจ้าฟ้าบุญรอด นั้นเปรียบเหมือนนางจินตหรา ดังปรากฏข้อความอยู่ในหนังสือพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว พิมพ์ พ.ศ. 2509 ตอนหนึ่งว่า
เส้น 99 ⟶ 102:
ภายหลังมาในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงทรงพระกุณาโปรดตั้งองค์ใหญ่พระราชโอรสเจ้าฟ้ากุณฑลเป็นเจ้าฟ้า พระราชทานนามว่า "อาภรณ์" แต่นั้นมาคนทั้งหลายจึงรู้เรียกกันว่า "เจ้าฟ้าอาภรณ์" แต่องค์กลาง องค์ปิ๋วนั้นก็ได้ยินเรียกกันอยู่ว่า องค์กลาง องค์ปิ๋ว ดังเช่นเรียกกันมาแต่เดิม ครั้นแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานพระนามพระองค์กลางว่า "มหามาลา" แต่นั้นมาคนทั้งหลายจึงรู้เรียกกันว่า เจ้าฟ้ามหามาลา องค์ปิ๋วนั้นสิ้นพระชนม์เสียแต่ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
 
=== พระชนมชีพในรัชกาลที่ 3 ===
เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคต พระเจ้าลูกเธอพระองค์ใหญ่ คือ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติต่อมา เป็นรัชกาลที่ 3 มีพระปรมาภิไธยย่อว่า พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เสวยราชสมบัติอยู่เป็นเวลา 23 ปีจึงเสด็จสวรรคต
 
เส้น 158 ⟶ 161:
อนึ่งในรัชกาลที่ 3 นั้น เจ้านายชั้นเจ้าฟ้าชายซึ่งเป็นพระราชโอรสรัชกาลที่ 2 พระองค์สำคัญมีเพียง 5 พระองค์ คือ สมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) เวลานั้นผนวชอยู่ตลอดรัชกาลที่ 3 พระองค์หนึ่ง สมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี (พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว) ซึ่งในรัชกาลที่ 3 ทรงสถาปนาเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ได้ว่ากรมทหารปืนใหญ่พระองค์หนึ่ง เจ้าฟ้าทั้งสองพระองค์นี้ เป็นเจ้าฟ้าพระโอรสในสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์ และมีพระชันษาแก่กว่าเจ้าฟ้า 3 พระองค์ในสมเด็จเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี
 
=== สวรรคตและงานสิ้นพระบรมศพชนม์ ===
สมเด็จเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีสวรรคตในรัชกาลที่ 3 เมื่อวันเสาร์ เดือน 4 ขึ้น 3 ค่ำ ปีจอ ตรงกับวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2381 สวรรคต พระชนมพรรษาได้ 42 พรรษา ทรงได้รับพระราชทานเพลิงพระบรมศพ ณ พระเมรุท้องสนามหลวงเมื่อวันแรม 6 ค่ำ เดือน 5 ตรงกับวันศุกร์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2382<ref name="ราชสกุลวงศ์"/>
 
เส้น 168 ⟶ 171:
 
"ฝ่ายที่กรุงการพระเมรุเสร็จแล้ว ครั้น ณ วัน เดือน 5 แรม 4 ค่ำ ได้ชักพระบรมศพสมเด็จเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีกับพระศพพระองค์เจ้า (ผู้เป็น) พระธิดาออกสู่พระเมรุ เชิญพระบรมศพประดิษฐานบนพระเบญจา มีการมหรสพทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายไทยธรรมแก่พระสงฆ์ พระราชาคณะ ฐานานุกรมเป็นอันมาก ครั้น ณ วัน เดือน 5 แรม 6 ค่ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ได้พระราชทานเพลิงแล้วสมโภชพระบรมอัฐิอีก วัน 1 คืน 1 เป็นคำรบ 4 วัน 4 คืน"
 
== ชีวิตส่วนพระองค์ ==
สมเด็จเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีมีเจ้าฟ้าด้วยกันกับพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รวมด้วยกัน 4 พระองค์ สิ้นพระชนม์เสียในรัชกาลสมเด็จพระชนกนารถพระองค์หนึ่ง คงพระชนม์ชีพต่อมา 3 พระองค์ เป็นเจ้าฟ้าชาย เจ้าฟ้าทั้ง 3 พระองค์นี้ ในรัชกาลที่ 2 เรียกกันว่าพระองค์ใหญ่ พระองค์กลาง และพระองค์ปิ๋วทั้งสิ้น เพิ่งมาเรียกพระองค์ใหญ่ว่า เจ้าฟ้าอาภรณ์ กันในรัชกาลที่ 3
 
สมเด็จเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีได้ทรงร่วมสุขร่วมทุกข์ ด้วยกันมาด้วยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระราชสวามี เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 8 แรม 11 ค่ำ ตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม ปีวอก พ.ศ. 2367 การเสด็จสวรรคตของพระราชสวามีย่อมนำความวิปโยคโศกเศร้าสลดรันทดพระทัยมาสู่พระองค์เป็นอย่างยิ่ง
 
เวลาสิ้นรัชกาลที่ 2 นั้น สมเด็จเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี พระมเหสีฝ่ายซ้ายพระชนมายุได้ 26 พรรษา วัยเบญจเพสพอดี เจ้าฟ้าพระราชโอรสพระองค์แรกคือเจ้าฟ้าอาภรณ์มีพระชนมายุได้ 8 พรรษา พระองค์ที่สองคือ เจ้าฟ้ากลาง คือ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์ มีพระชนมายุได้ 5 พรรษา พระองค์ที่สามคือ เจ้าฟ้าปิ๋ว พระชนมายุได้ 2 พรรษา พระองค์ย่อมทรงได้รับความลำบากอย่างแสนสาหัส เพราะพระโอรสยังทรงพระเยาว์มากทั้งสิ้น
 
== พระราชบุตร ==
เส้น 185 ⟶ 195:
|-
|}
 
สมเด็จเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีได้ประสูติเจ้าฟ้าชายพระองค์สุดท้าย คือ เจ้าฟ้าปิ๋ว ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 6 ขึ้น 6 ค่ำ ตรงกับวันที่ 26 เมษายน ปีมะเมีย พ.ศ. 2365
 
สมเด็จเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีมีเจ้าฟ้าด้วยกันกับพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รวมด้วยกัน 4 พระองค์ สิ้นพระชนม์เสียในรัชกาลสมเด็จพระชนกนารถพระองค์หนึ่ง คงพระชนม์ชีพต่อมา 3 พระองค์ เป็นเจ้าฟ้าชาย เจ้าฟ้าทั้ง 3 พระองค์นี้ ในรัชกาลที่ 2 เรียกกันว่าพระองค์ใหญ่ พระองค์กลาง และพระองค์ปิ๋วทั้งสิ้น เพิ่งมาเรียกพระองค์ใหญ่ว่า เจ้าฟ้าอาภรณ์ กันในรัชกาลที่ 3
 
สมเด็จเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีได้ทรงร่วมสุขร่วมทุกข์ ด้วยกันมาด้วยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระราชสวามี เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 8 แรม 11 ค่ำ ตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม ปีวอก พ.ศ. 2367 การเสด็จสวรรคตของพระราชสวามีย่อมนำความวิปโยคโศกเศร้าสลดรันทดพระทัยมาสู่พระองค์เป็นอย่างยิ่ง
 
เวลาสิ้นรัชกาลที่ 2 นั้น สมเด็จเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี พระมเหสีฝ่ายซ้ายพระชนมายุได้ 26 พรรษา วัยเบญจเพสพอดี เจ้าฟ้าพระราชโอรสพระองค์แรกคือเจ้าฟ้าอาภรณ์มีพระชนมายุได้ 8 พรรษา พระองค์ที่สองคือ เจ้าฟ้ากลาง คือ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์ มีพระชนมายุได้ 5 พรรษา พระองค์ที่สามคือ เจ้าฟ้าปิ๋ว พระชนมายุได้ 2 พรรษา พระองค์ย่อมทรงได้รับความลำบากอย่างแสนสาหัส เพราะพระโอรสยังทรงพระเยาว์มากทั้งสิ้น
 
==พระกรณียกิจ==